อ่าน

เช็กเสียงโหวตร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงไม่แตกเทโหวตคว่ำ

เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการระบุเพศ-คำนำหน้าในเอกสารราชการ ชวนดูการลงมติ สส. รายบุคคล ใครโหวตยังไงบ้าง?
อ่าน

ไม่ผ่าน! สภาโหวตคว่ำร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ระบุเพศ-คำนำหน้า ตามเจตจำนง

21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ที่เสนอโดย สส. พรรคก้าวไกล ส่งผลให้ร่างตกไปในวาระหนึ่ง
อ่าน

รวมข้อมูลความเคลื่อนไหวการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพื่อ #สมรสเท่าเทียม

รวมข้อมูลความเคลื่อนไหวการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพื่อ #สมรสเท่าเทียม ตั้งแต่ก่อนมีการแก้ไขกฎหมาย การพิจารณาแก้ไขครั้งแรกในปี 2565 ภายใต้รัฐบาลประยุทธ์ และการแก้ไขในยุครัฐบาลเศรษฐา
marriage equality bill
อ่าน

ผ่านฉลุย! สภารับหลักการร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม 4 ฉบับ 369 : 10 เสียง

21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้งสี่ฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 369 เสียง ไม่เห็นด้วย 10 เสียง งดออกเสียง 0 เสียง และไม่ประสงค์ลงคะแนน 1 เสียง
marriage equality bill
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : เปิด 3 ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ปลดล็อกไม่จำกัดเฉพาะชาย-หญิง

21 ธันวาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยมีร่างที่สภาจะพิจารณาถึง 3 ฉบับ มีหลักการสำคัญทำนองเดียวกัน แต่ร่างแต่ละฉบับมีรายละเอียดแตกต่างกัน
19 dec 2023 update about civil law amendment for marriage equality
อ่าน

ลุ้น! ร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม เข้าสภา ส่งท้ายปี 66

19 ธันวาคม เศรษฐา ทวีสิน นายกฯ ให้สัมภาษณ์กับสื่อว่าครม. จะเสนอร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมเข้าสภาวันที่ 21 ธันวาคม นอกจากร่างที่ครม. เสนอ ยังมีร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมจาก สส. และจากภาคประชาชน ชวนจับตาสภาจะลงมติรับหลักการหรือไม่
Comparison of 3 Gender Recognition Bills
อ่าน

เปิดข้อเสนอรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ-คำนำหน้า จากร่างกฎหมาย 3 ฉบับ

กฎหมายไทยยังคงรับรองสิทธิบุคคลยึดโยงตามเพศในระบบสองเพศ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่างก็มีข้อเสนอออกมาเป็นร่างกฎหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เป็นร่างกฎหมายสามฉบับ แม้หลักการสำคัญคือการรับรองสิทธิรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ และสิทธิของ Intersex แต่รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน
Law Petition - gender recognition bill
อ่าน

ประชาชนเสนอกฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ คำนำหน้า-เอกสารราชการยึดตามเจตจำนง

กฎหมายยังไทยที่เป็นอยู่ยังยึดโยงกรอบสองเพศ และไม่รับรองสิทธิและสถานะของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ภาคประชาชน ใช้กลไกการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเข้าชื่อเสนอร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพฯ หรือ GEN-ACT ต่อสภาผู้แทนราษฎร
civil code bill for marriage equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ต้องเริ่มเสนอใหม่ อยากให้เกิดขึ้นจริงได้ต้องช่วยกันส่งเสียง-จับตาสภา

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เคยผ่านวาระหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 นั้น "ตกไป" แล้ว การจะผลักดันกฎหมายสมรสเท่าเทียมให้เกิดขึ้นจริงได้จึงต้องเสนอร่างใหม่ ซึ่งมีร่างจากภาคประชาชนและร่างจากพรรคการเมืองพร้อมเสนอเข้าสภาแล้ว
2023 General Election LGBTQINA+ Policies
อ่าน

เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ

30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย