อ่าน

ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น

ศาลอุทธรณ์วางบรรทัดฐานว่า พนักงานสอบสวนจะมีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพื่อนำไปเก็บเป็นประวัติอาชญากร
Executive Decree
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
Court ruled decree unconstitutional
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
Juvenile act
อ่าน

เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมาย

จากการรวบรวมสถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ 112 มีเด็ก และเยาวชนถูกดำเนินคดีแล้วจำนวน 18 ราย ใน 21 คดี กรณีล่าสุดคือ “หยก” เด็กนักเรียนผู้ถูกออกหมายเรียกคดี 112 ในตอนที่อายุเพียงแค่ 14 ปี ชวนดูกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีเด็กและเยาวชน กำหนดไว้อย่างไรบ้าง 
52809350155_809e98cac6_o
อ่าน

เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?

พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ
Election Commission's problem
อ่าน

10 เรื่องที่ต้องช็อกเมื่อได้รู้ เบื้องหลังการรายงานคะแนนเลือกตั้ง’62

เบื้องหลังการรายงานคะแนนเลือกตั้ง 62 หลังปิดหีบแล้วนับคะแนนเสร็จ จนผลรวมมาถึงสายตาของประชาชนได้ มีอะไรเกิดขึ้นมากมายให้งงงวย และถ้าได้รู้อาจจะต้องช็อก!!
Decree to delay the enforcement of the anti-torture bill
อ่าน

พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ

การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา พ.ร.ก. แก้ไข พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ทำให้สภาไม่มีโอกาสได้ลงมติ ซึ่งในระหว่างนี้บางมาตราของ พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ก็จะถูกอุ้มหายไปด้วย รวมถึงรัฐบาลที่จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหาก พ.ร.ก. ไม่ได้รับความเห็นชอบก็จะหมดอายุตามสภาไปแล้ว
Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด
52706256795_5a5c8e7936_o
อ่าน

คปช.53 ยื่นหนังสือฝ่ายค้าน เสนอนโยบายทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดง ลงนาม ICC

23 กุมภาพันธ์ 2566 13.00 น. คณะประชาชนทวงคืนความยุติธรรม 2553 (คปช.53) เข้ายื่นหนังสือกับตัวแทนพรรคฝ่ายค้าน เสนอนโยบายเพื่อทวงความยุติธรรมให้คนเสื้อแดงและประชาชนที่ถูกกระทำจากการเป็นผู้เห็นต่างทางการเมือง รวมถึงการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ที่อาคารรัฐสภา เกียกกาย
RECAP: Tawan & Bam
อ่าน

RECAP: เกิดอะไรขึ้นกับ “ตะวัน-แบม” ??

เกิดอะไรขึ้นกับ “ตะวัน-แบม” ? เรื่องราวนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร? ทั้งสองคนเป็นใคร? ทำความเข้าใจข้อเรียกร้องของพวกเธอดังต่อไปนี้