อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ! พิธาไม่พ้นตำแหน่ง สส. เหตุ ITV ไม่ได้ประกอบกิจการสื่อแล้ว

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมาก 8:1 เสียง วินิจฉัยว่า พิธาเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท ไอทีวี แต่ข้อเท็จจริง ไอทีวีไม่ได้ประกอบกิจการหรือมีรายได้จากกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน พิธาจึงไม่ได้มีลักษณะต้องห้ามไม่ให้ใช้สมัครรับเลือกตั้ง สส. ดังนั้นสมาชิกภาพ สส. ของพิธาจึงไม่สิ้นสุดลง
election results (students,soldiers voters)
อ่าน

ส่องคะแนนเลือกตั้ง66 หน่วยค่ายทหาร-มหาวิทยาลัย ก้าวไกลครองแชมป์รายหน่วย

ชวนดูคะแนน “รายหน่วย” เฉพาะคะแนนจากระบบบัญชีรายชื่อที่สะท้อนความนิยมของพรรคการเมืองในพื้นที่หน่วยเลือกตั้งที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตมหาวิทยาลัยและอาณาเขตกองทัพว่าผลที่ออกมานั้นมีทิศทางเป็นอย่างไรในการเลือกตั้งปี 2566  
Thailand didn't have the government for 109 days
อ่าน

ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย

หลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 หากนับว่าเช้าวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 คือวันแรกของการรอคอยการจัดตั้งรัฐบาล วันนี้ วันที่ 1 กันยายน 2566 จะใช้เวลาทั้งสิ้น 109 วันจึงมีหนังสือพระบรมราชโอการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. ทำให้การเลือกตั้ง 2566 คว้าตำแหน่งอันดับหนึ่งของการรอรัฐบาลใหม่ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย   ในอดีตนั้น การเลือกตั้งที่ใช้เวลานานที่สุดเพื่อให้มีรัฐบาลใหม่ คือ การเลือกตั้งครั้งที่ 26 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น 107 วัน จึงจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้น โดยในครั้งนั้นได้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี   การเลือกตั้งปี 2566 ขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งด้านความล่าช้าของการมีรัฐบาลมากกว่า “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” ของไทย ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 31 วัน รวมทั้งยังยิ่งชี้ให้เห็นว่า การเลือกตั้งที่คนไทยใช้เวลามากที่สุดกว่าจะมีรัฐบาลใหม่นั้น ต่างเกิดภายใต้กติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งสิ้น
what the senators votes then and nows
อ่าน

เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม

การประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งที่สามเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 จบลงด้วยชัยชนะของ เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย ด้วยมติเห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165 เสียง และงดออกเสียง 81 เสียง จากทั้งรัฐสภา ทำให้ประเทศไทยเตรียมมีนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 หลังการเลือกตั้งมาแล้วกว่า 100 วัน   อย่างไรก็ตาม การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคก้าวไกล มีสาเหตุมาจากการที่สมาชิกวุฒิสภา สว. “งดออกเสียง” ภายใต้ข้ออ้างว่าเป็นการ “ปิดสวิตช์ตนเอง” มากถึง 159 เสียง ขณะที่ในการลงมติครั้งนี้มี สว. งดออกเสียงเพียง 68 เสียงเท่านั้น   เท่ากับว่า มี สว. จำนวนมากที่เปลี่ยนใจ หันมาโหวตเลือกเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีมากกว่าเลือกพิธา  
Srettha PM
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
constitution amendments policy
อ่าน

ทวงสัญญารัฐธรรมนูญใหม่ พรรคไหนเคยชูเป็นนโยบายบ้าง

การแก้ไขรัฐธรรมนูญถูกนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญในนโยบายหาเสียงของหลายพรรค ก่อนการเลือกตั้ง 66 เมื่อผ่านการเลือกตั้งแล้วสส. ในสภาจึงต้องถูกทวงถามสิ่งที่เคยประกาศเอาไว้
ect meeting
อ่าน

กกต. รับข้อเสนอ We watch พร้อมยกระดับจัดการเลือกตั้งครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

วีวอทช์ (We Watch) และเครือข่ายประชาชนสังเกตการณ์การเลือกตั้งยื่นหนังสือข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกกต. เพื่อเป็นแนวทางพัฒนากระบวนการเลือกตั้งครั้งต่อๆ ไปให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสมากยิ่งขึ้น
53070208650_1637626979_o
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
Thailand's 2017 constitution make election winners losing
อ่าน

เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!

รัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
66 days after elections still don't have government
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด