อ่าน

ย้อนเส้นทางเสรีภาพสื่อของวอยซ์ทีวี หลังประกาศปิดฉาก 15 ปี

ย้อนเส้นทางเสรีภาพสื่อมวลชนของวอยซ์ทีวี ที่เรียกว่า อายุเกือบครึ่งหนึ่งของวอยซ์ทีวีต้องเผชิญกับการคุกคามและปิดกั้นเสรีภาพ
อ่าน

“คดีอาญาเหมือนกัน แต่บางคดีแรงเพราะการเมือง” ฟังเสียง ต๊ะ-คทาธร กับความสองมาตรฐานคดีการเมืองไทย

ต๊ะ-คทาธร นักกิจกร…
อ่าน

ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น

ศาลอุทธรณ์วางบรรทัดฐานว่า พนักงานสอบสวนจะมีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพื่อนำไปเก็บเป็นประวัติอาชญากร
อ่าน

Q&A ถาม-ตอบข้อสงสัย อยากลงชื่อร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ต้องทำยังไง? มีขั้นตอนใดบ้าง?

ในช่วงเทศกาลแห่งความรักปีนี้ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 องค์กรภาคประชาสังคมรวมถึงนักกิจกรรมหลายกลุ่มในนาม “เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน” เดิน Kick off แคมเปญ #นิรโทษกรรมประชาชน พร้อมเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน นิรโทษกรรมให้ “ทุกข้อหา” ที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น คดีตามประกาศ/คำสั่งคสช. คดีพลเรือนในศาลทหาร คดีมาตรา 112 คดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือคดีพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อให้สภาพิจารณา สำหรับผู้ที่สนใจจะลงชื่อเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนให้ถึงสภา แล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงชื่อ เราได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อยมาไว้แล้ว ดูแล้วสามารถไปลงชื่อได้เลย
อ่าน

ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ ยันนิรโทษกรรมคือการคืนความยุติธรรม

2 กุมภาพันธ์ 2567 ที่งานเสวนา “Voice of the People to the Government” ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ หนึ่งในผู้ลี้ภัยทางการเมืองของไทย ได้กล่าวถึงบทบาทในการทำแคมเปญปล่อยตัวนักโทษการเมืองจากมาตรา 112 และความหวังในอนาคตสำหรับนักโทษตามมาตรา 112 โดยเฉพาะเมื่อคำนึงถึงสถานการณ์ที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการตัดสินพรรคก้าวไกล รวมถึงการเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชน และการที่ประเทศไทยได้เสนอตัวเป็นคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
อ่าน

4 ข้อเสนอ โดยปิยบุตร บรรเทาสถานการณ์ทางการเมืองรัฐบาลเพื่อไทย

ภายหลังเกือบ 5 เดือนภายใต้รัฐบาลเพื่อไทย ปัญหาคดีความทางการเมืองที่สั่งสมมาตั้งแต่รัฐบาลประยุทธ์ ตั้งแต่ช่วงการเข้ายึดอำนาจจากรัฐบาลเพื่อไทย เกือบ 10 ปีที่แล้ว ยังคงดำเนินอยู่และยังส่งผลทางการเมืองจนถึงตอนนี้ โดยยังไม่มีทีท่าจากรัฐบาลว่าจะแก้ไขปัญหาคดีความทางการเมืองที่มีผู้ถูกจำคุกกว่าหลายคนอย่างไร
อ่าน

วิทิต มันตาภรณ์ แนะไทยหยุดใช้กฎหมายละเมิดสิทธิ ก่อนชิงเก้าอี้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนฯ

วิทิต มันตาภรณ์ ผู้รายการพิเศษแห่งสหประชาชาติ แนะไทยเร่งแก้ไขสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศก่อนลงชิงตำแหน่งคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
ilaw NHCR award
อ่าน

“การยุติการดำเนินคดีจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนคือประตูบานแรกในการแก้ไขข้อผิดพลาด” iLaw รับรางวัลจากกรรมการสิทธิฯ

ตราบใดที่การพูดถึงปัญหาในประเทศอย่างตรงไปตรงมาและมีวุฒิภาวะเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ ตราบใดที่กฎหมายยังทำหน้าที่ข่มขู่สร้างความหวาดกลัว ไม่ได้ทำหน้าที่คุ้มครอง ปัญหาที่มีอยู่ทั้งหลายก็แก้ไขไปที่ต้นเหตุไม่ได้ การยุติและยกเลิกคดีความจากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนทั้งหมด จึงถือเป็นประตูบานแรกที่จะทำให้การแก้ไขสิ่งที่ผิดพลาดทั้งหลายในประเทศนี้เป็นไปได้