อ่าน

สว. ชุดพิเศษ เห็นชอบรับร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระหนึ่ง เหลือพิจารณาต่อวาระสอง-สาม

2 เมษายน 2567 วุฒิสภาชุดพิเศษ “เห็นชอบ” ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระแรก หลังจากร่างผ่านสภาผู้แทนราษฎร กระบวนการถัดมาเหลือการพิจารณาวาระสอง-สาม ชั้นวุฒิสภา
อ่าน

จับตาประชุมวุฒิสภา! ลุ้น สว. ชุดพิเศษ โหวตผ่าน #สมรสเท่าเทียม ก่อนหมดวาระ

2 เมษายน 2567 วุฒิสภามีวาระพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระหนึ่ง โดยเป็นการพิจารณาร่างที่ผ่านความเห็นชอบจากชั้นสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
อ่าน

ผ่านฉลุย! สส. เห็นชอบร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระสาม ส่งไม้ต่อให้ สว.

27 มีนาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “เห็นชอบ” ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมในวาระสาม ส่งไม้ต่อให้วุฒิสภาพิจารณาสามวาระ
อ่าน

จับตาประชุมสภา ลุ้น สส. ผ่านร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม วาระสอง-สาม

27 มีนาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมนวาระสอง-สาม หากสภามีมติเห็นชอบในวาระสาม ร่างกฎหมายก็จะได้พิจารณาต่อชั้นวุฒิสภา
อ่าน

ผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งตอนไหน? ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์แต่ประเทศ

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ทั้งโลกร่วมรำลึกถึงขบวนการต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศของผู้หญิงทั่วโลกที่เคยถูกเอารัดเอาเปรียบจากการใช้แรงงานที่กดขี่และเอาเปรียบ ในโอกาสวันสตรีสากล ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์สิทธิเลือกตั้งของผู้หญิง ห้าประเทศ ได้แก่ นิวซีแลนด์ ไทย สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และปากีสถาน ว่าผู้หญิงมีสิทธิเลือกตั้งกันเมื่อไร
อ่าน

เช็กเสียงโหวตร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงไม่แตกเทโหวตคว่ำ

เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการระบุเพศ-คำนำหน้าในเอกสารราชการ ชวนดูการลงมติ สส. รายบุคคล ใครโหวตยังไงบ้าง?
อ่าน

ไม่ผ่าน! สภาโหวตคว่ำร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ระบุเพศ-คำนำหน้า ตามเจตจำนง

21 กุมภาพันธ์ 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.รับรองเพศฯ ที่เสนอโดย สส. พรรคก้าวไกล ส่งผลให้ร่างตกไปในวาระหนึ่ง
อ่าน

ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น

ศาลอุทธรณ์วางบรรทัดฐานว่า พนักงานสอบสวนจะมีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพื่อนำไปเก็บเป็นประวัติอาชญากร
อ่าน

นิรโทษกรรมแบบใด? เปรียบเทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม-สร้างเสริมสังคมสันติสุข 4 ฉบับ

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรม 4 ฉบับ ที่อาจเข้าสภาในปี 2567 เนื้อหาแตกต่างกันหลายประเด็น โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นเรื่องถกเถียง คือการนิรโทษกรรมคดีความผิด มาตรา 112
อ่าน

Q&A ถาม-ตอบข้อสงสัย อยากลงชื่อร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ต้องทำยังไง? มีขั้นตอนใดบ้าง?

ในช่วงเทศกาลแห่งความรักปีนี้ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 องค์กรภาคประชาสังคมรวมถึงนักกิจกรรมหลายกลุ่มในนาม “เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน” เดิน Kick off แคมเปญ #นิรโทษกรรมประชาชน พร้อมเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน นิรโทษกรรมให้ “ทุกข้อหา” ที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น คดีตามประกาศ/คำสั่งคสช. คดีพลเรือนในศาลทหาร คดีมาตรา 112 คดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือคดีพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อให้สภาพิจารณา สำหรับผู้ที่สนใจจะลงชื่อเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนให้ถึงสภา แล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงชื่อ เราได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อยมาไว้แล้ว ดูแล้วสามารถไปลงชื่อได้เลย