อ่าน

เปิดสถิติคำพิพากษาของไบรท์ชินวัตร 3 คดี และการคุมขัง 3 ครั้ง ภายใต้มาตรา 112

ชินวัตร จันทร์กระจ่าง หรือไบรท์ ผู้ซึ่งเคยเป็นขาประจำในการปราศรัยของการชุมนุมในระหว่างปี 2563-2564 ที่ทำให้เขาถูกดำเนินคดีจำนวนมาก จนต้องเดินเข้าออกเรือนจำหลายครั้ง จนกระทั่งมาถึงวันที่เขาต้องเข้าเรือนจำตามคำพิพากษาในปี 2567 ที่อาจทำให้เขาต้องอยู่ยาว
อ่าน

ตารางนัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 เดือนมีนาคม 2567 

เดือนมีนาคม 2567 ศาลนัดจำเลยคดีมาตรา 112 ฟังคำพิพากษาอย่างน้อยเก้าคดี ทุกคนสามารถร่วมกันแสดงออกถึงความเป็นส่วนหนึ่งกับจำเลยทุกคดีได้ด้วยการผูกโบว์ขาวเป็นสัญลักษณ์ในวันที่มีนัดอ่านคำพิพากษา และสามารถเข้าร่วมรับฟังการอ่านคำพิพากษา
อ่าน

จากบีบแตรสู่ข้อหาเกินจริง ขอศาลเคารพสิทธิประกันตัว ไม่ตั้งธงต่อจำเลยคดีการเมือง

กรณีขบวนเสด็จของตะวันและแฟรงค์ถูก ‘ขยาย’ขึ้นและต่อเนื่องถึงตำรวจที่ตั้งข้อหาหนักเกินจริง และซ้ำด้วยศาลที่ไม่ให้ประกันตัว ผู้ร่วมเสวนาเรียกร้องต่อผู้ที่อยู่ในกระบวนการยุติธรรมและผู้บริหารประเทศให้เคารพสิทธิการประกันตัว
อ่าน

เห็นพ้องต้องรวมมาตรา 112 ในการนิรโทษกรรม หวั่นแยกใช้ช่องอภัยโทษจะดึงสถาบันฯเป็นคู่ขัดแย้ง

การนิรโทษกรรมจำเป็นต้องรวมมาตรา 112 ด้วยเหตุผลในเชิงหลักกฎหมายที่คดีมาตรา 112 เป็นคดีที่มีรอยด่างพร้อยในกระบวนการพิจารณาคดี ไม่ว่าจะเรื่องการเสาะหาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ที่มักจะมีอุปสรรค จำเลยที่ถูกกลั่นแกล้งทางการเมือง  การยอมถอยให้เก็บคดีมาตรา 112 ไว้นิรโทษกรรมในภายหลังอาจทำให้จำเลยมาตรา 112 ถูกลืมในที่สุด อีกนัยหนึ่งคือการนิรโทษกรรมครั้งนี้อาจเป็นโอกาสเดียวของจำเลยมาตรา 112 
อ่าน

112 ชีวิต ความคิด ความฝัน มายด์ ภัสราวลี: จุดยืนยังคงเดิมแม้บทบาทจะเปลี่ยนไป

ชวนอ่านเรื่องราวเบื้องหลังคำปราศรัยครั้งสำคัญของมายด์ ภัสราวลี ที่นำมาสู่การดำเนินคดีมาตรา 112
อ่าน

นิรโทษกรรมแบบใด? เปรียบเทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม-สร้างเสริมสังคมสันติสุข 4 ฉบับ

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรม 4 ฉบับ ที่อาจเข้าสภาในปี 2567 เนื้อหาแตกต่างกันหลายประเด็น โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นเรื่องถกเถียง คือการนิรโทษกรรมคดีความผิด มาตรา 112
อ่าน

Q&A ถาม-ตอบข้อสงสัย อยากลงชื่อร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ต้องทำยังไง? มีขั้นตอนใดบ้าง?

ในช่วงเทศกาลแห่งความรักปีนี้ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 องค์กรภาคประชาสังคมรวมถึงนักกิจกรรมหลายกลุ่มในนาม “เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน” เดิน Kick off แคมเปญ #นิรโทษกรรมประชาชน พร้อมเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน นิรโทษกรรมให้ “ทุกข้อหา” ที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น คดีตามประกาศ/คำสั่งคสช. คดีพลเรือนในศาลทหาร คดีมาตรา 112 คดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือคดีพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อให้สภาพิจารณา สำหรับผู้ที่สนใจจะลงชื่อเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนให้ถึงสภา แล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงชื่อ เราได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อยมาไว้แล้ว ดูแล้วสามารถไปลงชื่อได้เลย
อ่าน

จากปี 49 ถึง 67 เสียงจากสามนักสู้บนท้องถนน นิรโทษกรรมต้องมีมาตรา 112

วงเสวนา “นิรโทษกรรมประชาชน (สักที!) #เสียเวลาฉิบหาย” เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 ณ อาคาร All Rise จึงรวมสามนักสู้ร่วมยุคสมัยอย่าง หนูหริ่ง-สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ บ.ก.ลายจุด กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง แหวน-ณัฏฐธิดา มีวังปลา พยาบาลอาสาจากเหตุการณ์ปี 2553 และ นก-นภัสสร บุญรีย์ หรือป้านก ผู้เคลื่อนไหวแทบทุกการชุมนุมตั้งแต่ปี 2535 มาร่วมวงเสวนา
อ่าน

ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ ยันนิรโทษกรรมคือการคืนความยุติธรรม

2 กุมภาพันธ์ 2567 ที่งานเสวนา “Voice of the People to the Government” ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ หนึ่งในผู้ลี้ภัยทางการเมืองของไทย ได้กล่าวถึงบทบาทในการทำแคมเปญปล่อยตัวนักโทษการเมืองจากมาตรา 112 และความหวังในอนาคตสำหรับนักโทษตามมาตรา 112 โดยเฉพาะเมื่อคำนึงถึงสถานการณ์ที่ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการตัดสินพรรคก้าวไกล รวมถึงการเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชน และการที่ประเทศไทยได้เสนอตัวเป็นคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
อ่าน

4 ข้อเสนอ โดยปิยบุตร บรรเทาสถานการณ์ทางการเมืองรัฐบาลเพื่อไทย

ภายหลังเกือบ 5 เดือนภายใต้รัฐบาลเพื่อไทย ปัญหาคดีความทางการเมืองที่สั่งสมมาตั้งแต่รัฐบาลประยุทธ์ ตั้งแต่ช่วงการเข้ายึดอำนาจจากรัฐบาลเพื่อไทย เกือบ 10 ปีที่แล้ว ยังคงดำเนินอยู่และยังส่งผลทางการเมืองจนถึงตอนนี้ โดยยังไม่มีทีท่าจากรัฐบาลว่าจะแก้ไขปัญหาคดีความทางการเมืองที่มีผู้ถูกจำคุกกว่าหลายคนอย่างไร