constituent assembly
อ่าน

นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%

การเลือกตั้ง สสร. โดยประชาชนทั้งหมด และบทบาทของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่เรื่องที่ขัดแย้งกัน แต่หากยึดว่าอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นของประชาชน การออกแบบระบบเพื่อหาที่ทางให้กับคนเหล่านี้ก็ยังมีความเป็นไปได้
People answer "Why we have to use #Conforall referendum question"
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
53332274472_33d8d30b21_o
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
Referendum Timeline
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา
53315818023_bee7c8112f_o
อ่าน

ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall

ชวนถามประชาชนผู้เป็นเจ้าของสิทธิเสียงร่วมกันเขียนข้อความฝากถึงคณะกรรมการประชามติฯ ผ่านเราว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรที่จะใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” เพื่อนำเสียงพี่น้องประชาชนทุกคนเข้าสู่ห้องประชุมของทำเนียบรัฐบาล
Timeline Civil Petition for Referendum
อ่าน

ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!

ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ
ECT finished processing the signatures
อ่าน

กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.

20 กันยายน 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญได้รับหนังสือจากกกต. ว่าได้ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอจัดทำประชามติเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลังจากนี้ จะส่งเรื่องต่อไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการเพื่อให้ครม.มีมติเห็นชอบต่อไป
Government spoke-person denied delaying new constitution
อ่าน

“ไม่ได้ดึงเวลา” ย้อนฟังคำโฆษกสำนักนายก ทำไมต้องตั้งคณะกรรมการฯ ประเด็น รธน. ซ้ำซ้อน

ชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้ตอบคำถามนักข่าวถามว่า เพราะเหตุใดรัฐบาลจึงเลือกที่จะตั้ง “คณะกรรมการศึกษาการทำประชามติ” หลังจาก “กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ” ส่งการเข้าชื่อแคมเปญ #conforall จำนวน 200,000 กว่ารายชื่อได้ตามกระบวนการแล้ว ทั้งยังเคยมีการตั้งคณะกรรมการศึกษาฯ ลักษณะเดียวกันมาแล้วบ่อยครั้งจากหลายฝ่ายในอดีต
conforall_icon03
อ่าน

ทีม #CONFORALL ยื่นหนังสือต่อพรรคเพื่อไทยให้รับคำถามประชาชนสู่ครม.

#CONFORALL นำรายชื่อเสนอคำถามประชามติของประชาชนยื่นต่อพรรคเพื่อไทย แกนนำจัดตั้งรัฐบาล ขอให้พิจารณาโดยไม่คำนึงขั้นตอนทางธุรการของกกต.
2566 letter
อ่าน

เปิดจดหมายโต้แย้งกกต. ปี2566 ลงชื่อต้องออนไลน์ได้แล้ว

ตามที่สำนักงานกกต. แจ้งปากเปล่าว่า การเข้าชื่อเสนอคำถามประชามติต้องทำบนกระดาษเท่านั้น ไม่สามารถลงชื่อออนไลน์ได้แต่ต้องกรอกข้อมูลเป็นไฟล์ดิจิทัลไปยื่นต่อกกต. iLaw จึงทำหนังสือโต้แย้งขอให้กกต. กลับคำวินิจฉัย เพราะปี 2566 เทคโนโลยีสามารถช่วยอำนวยความสะดวกได้ ไม่เป็นภาระกับประชาชนเกินไป