ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

17 เมษายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเไม่รับคำร้องที่รัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปัญหาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่า รัฐสภาจะมีอำนาจในการพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน
รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน
อ่าน

รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

29 มีนาคม 2567 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นชอบให้ส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่าการเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) รัฐสภาจะมีอำนาจในการลงมติพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 233 เสียง ไม่เห็นด้วย 103 เสียง และงดออกเสียง 170 เสียง
5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่

17 มีนาคม 2567 านเสวนา “5 คูหา เปลี่ยนประเทศไทย: ปฏิทินแห่งความหวังสู่รัฐธรรมนูญใหม่” ชวนมองไปข้างหน้า เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีกระบวนการอย่างไร ประชาชนจะทำอะไรได้บ้าง รวมถึงการเลือก สว. ชุดใหม่
ทัศนีย์เล่าคดีจดหมายประชามติในยุคทหารครองเมืองไม่อนุญาตให้ ‘คิดต่าง’
อ่าน

ทัศนีย์เล่าคดีจดหมายประชามติในยุคทหารครองเมืองไม่อนุญาตให้ ‘คิดต่าง’

ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ อดีตสส. พรรคเพื่อไทย จังหวัดเชียงใหม่เล่าถึงประสบการณ์ความเป็น “เหยื่อ” ในคดีการเมืองช่วงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญในปี 2559 คดีนี้เป็นหนึ่งในตัวอย่างของการปราบปรามผู้ใช้เสรีภาพในการแสดงออกในยุคคสช. จนถึงปัจจุบันยังมีผู้ถูกดำเนินคดีการเมืองจำนวนมาก
ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ! พิธาไม่พ้นตำแหน่ง สส. เหตุ ITV ไม่ได้ประกอบกิจการสื่อแล้ว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ! พิธาไม่พ้นตำแหน่ง สส. เหตุ ITV ไม่ได้ประกอบกิจการสื่อแล้ว

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมาก 8:1 เสียง วินิจฉัยว่า พิธาเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท ไอทีวี แต่ข้อเท็จจริง ไอทีวีไม่ได้ประกอบกิจการหรือมีรายได้จากกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน พิธาจึงไม่ได้มีลักษณะต้องห้ามไม่ให้ใช้สมัครรับเลือกตั้ง สส. ดังนั้นสมาชิกภาพ สส. ของพิธาจึงไม่สิ้นสุดลง
Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ
อ่าน

Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ

12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
เลือกอะไรได้ไหม?? สำรวจทางเลือกในการออกเสียงเมื่อคำถามประชามติ “ล็อกหมวด1-2”
อ่าน

เลือกอะไรได้ไหม?? สำรวจทางเลือกในการออกเสียงเมื่อคำถามประชามติ “ล็อกหมวด1-2”

ภายใต้คำถามประชามติ ให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยไม่แก้ไขหมวด1 และหมวด 2 mujอาจจะนำไปสู่ปัญหาได้มาก จึงชวนประชาชนช่วยกันคิดว่า หากเกิดการทำประชามติขึ้นด้วยคำถามนี้ ประชาชนมีทางเลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ได้อย่างไรบ้าง แต่ละทางเลือกจะส่งผลอย่างไรต่อไป
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ

บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ
อ่าน

ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ

คณะกรรมการศึกษาแนวทางการทำประชามติใช้เวลาทำงานถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2566 หรือ 2 เดือน 23 วัน จึงมีการแถลงสรุปผล แต่ดูเหมือนว่าไม่ได้ทำให้กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญชัดเจนขึ้น มากไปกว่านั้น เวลาที่เสียไปจากการศึกษายิ่งทำให้การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทอดเวลาออกไปอีก
กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67
อ่าน

กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67

25 ธันวาคม 2566 คณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ที่มีภูมิธรรม เวชยชัย เป็นประธาน ได้ข้อสรุปการทำประชามติครั้งแรกนำสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ คำถามประชามติคำถามเดียว เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ไม่แตะ หมวด 1 ทั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ เตรียมเสนอรายงานต่อ ครม. ภายในไตรมาสแรกของปี 2567