รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร
อ่าน

รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร

เนื่องในวันรัฐธรรมนูญ รัฐสภาจัดกิจกรรมที่ลานประชาชนตลอดทั้งวันโดยระหว่าง 18.00-19.30 น. มีงานเสวนาหัวข้อ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร มีความเห็นเช่น การถ่วงดุลอำนาจและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้มากขึ้น
เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สภาร่างต้องยึดโยงประชาชน
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สภาร่างต้องยึดโยงประชาชน

10 ธันวาคม 2566 วันรัฐธรรมนูญ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อประชาชน เพื่อร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนมองไปข้างหน้าถึงการเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
Con for All Talk : เสียงสะท้อนจาก 8 นักเคลื่อนไหว ทำไมต้องเขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยประชาชน?
อ่าน

Con for All Talk : เสียงสะท้อนจาก 8 นักเคลื่อนไหว ทำไมต้องเขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยประชาชน?

 9 ธันวาคม 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ จัดกิจกรรม ‘ปักธง ส่งต่อ สสร.เลือกตั้ง’ โดยในงานมีกิจกรรม Con for All Talk เปิดพื้นที่ให้แปดนักเคลื่อนไหวที่ทำงานหลากประเด็น มาร่วมสะท้อนปัญหาสังคม-ปัญหารัฐธรรมนูญ เรียกร้องการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับโดยประชาชน
เสวนา #ConforAll ปักธง สสร. เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เสวนา #ConforAll ปักธง สสร. เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%

หลังประชาชนเสนอคำถามประชามติ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100% ต่อคณะรัฐมนตรีแล้ว แต่เรื่องยังไม่เดินหน้า ภาคประชาชนจัดวงเสวนา ปักธง สสร. เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100% เพื่อยืนยันว่าคำถามประชามติดังกล่าวทำได้ และจะทำให้การทำประชามติสะท้อนเจตจำนงประชาชน
สรุป “ร่างรัฐธรรมนูญคนจน” อีกหนึ่งเสียงเรียกร้องรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
อ่าน

สรุป “ร่างรัฐธรรมนูญคนจน” อีกหนึ่งเสียงเรียกร้องรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย

การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ไม่ใช่พื้นที่เฉพาะของฝ่ายการเมืองเท่านั้น แต่ภาคประชาชนยังมีส่วนร่วมสำคัญในการกำหนดอนาคตประเทศครั้งนี้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างสำคัญคือ "ร่างรัฐธรรมนูญคนจน" ของ "สมัชชาคนจน" ที่เสนอการยกระดับประชาธิปไตยและการคุ้มครองสิทธิของคนทุกคนขึ้นไปให้มากกว่าที่เคยมีมา  
สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ
อ่าน

ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา “คณะกรรมการประชามติฯ” ได้เชิญภาคประชาสังคมจำนวนมากไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่ม คือ ผู้สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ผู้สนับสนุนการห้ามแก้ไขหมวดหนึ่งและหมวดสอง และ กลุ่มอื่นๆ 
กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ประชามติต้องเปิดกว้าง คำถามมีเงื่อนไขอาจได้คำตอบไม่ตรงเจตจำนงประชาชน
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ประชามติต้องเปิดกว้าง คำถามมีเงื่อนไขอาจได้คำตอบไม่ตรงเจตจำนงประชาชน

ระหว่างที่การเดินหน้าไปสู่การทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยังไม่ถึงกระบวนการริเริ่มประชามติ 3 พ.ย.  2566 คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) จัดวงอภิปรายสาธารณะในหัวข้อ "กระบวนการขับเคลื่อนรัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตย : แก้ไข-ร่างใหม่-ประชามติ?"