จะ “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก่อน? 
อ่าน

จะ “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก่อน? 

ย้อนดูเกมการเมืองที่ทำให้ยังไม่ได้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ยังไม่ได้ทำประชามติเสียที โดยจะส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความเรื่องการทำประชามติ เป็นครั้งที่สอง
ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย
อ่าน

ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย

หลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 หากนับว่าเช้าวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 คือวันแรกของการรอคอยการจัดตั้งรัฐบาล วันนี้ วันที่ 1 กันยายน 2566 จะใช้เวลาทั้งสิ้น 109 วันจึงมีหนังสือพระบรมราชโอการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. ทำให้การเลือกตั้ง 2566 คว้าตำแหน่งอันดับหนึ่งของการรอรัฐบาลใหม่ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย   ในอดีตนั้น การเลือกตั้งที่ใช้เวลานานที่สุดเพื่อให้มีรัฐบาลใหม่ คือ การเลือกตั้งครั้งที่ 26 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น 107 วัน จึงจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้น โดยในครั้งนั้นได้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี   การเลือกตั้งปี 2566 ขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งด้านความล่าช้าของการมีรัฐบาลมากกว่า “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” ของไทย ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 31 วัน รวมทั้งยังยิ่งชี้ให้เห็นว่า การเลือกตั้งที่คนไทยใช้เวลามากที่สุดกว่าจะมีรัฐบาลใหม่นั้น ต่างเกิดภายใต้กติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งสิ้น
รวมวาทะสว. อภิปรายขวางร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนเลือกเศรษฐาเป็นนายกฯ
อ่าน

รวมวาทะสว. อภิปรายขวางร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนเลือกเศรษฐาเป็นนายกฯ

22 สิงหาคม 2566 ในที่ประชุมรัฐสภามีการอภิปราย ก่อนลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 รอบที่สาม สมาชิกวุฒิสภา (สว.) หลายคนได้ลุกขึ้นอภิปรายความเหมาะสมและคุณสมบัติของ “เศรษฐา ทวีสิน” แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย โดยสว.บางคนก็แสดงความเห็นสอดแทรกไปในทางที่ไม่เห็นด้วยหรือยังมีข้อสงสัยที่อยากให้พรรคเพื่อไทยแถลงข้อเท็จจริงให้ชัดเจนในประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่พรรคเพื่อไทยจะผลักดันเป็นวาระแรกเมื่อจัดตั้งรัฐบาลสำเร็จ   
กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ
อ่าน

กกต. เพิ่งบอก เข้าชื่อออนไลน์ไม่ได้ 4 หมื่นชื่อตกน้ำทันที ขอประชาชนเร่งระดมเซ็นในกระดาษ

22 สิงหาคม 2566 รองเลขธิการสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ให้คำตอบตัวแทนกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญว่า ไม่สามารถใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ในการเข้าชื่อเสนอคำถามตาม พ.ร.ป.ประชามติฯ ทำให้มากกว่า 4 หมื่นชื่ออาจไม่ถูกนับ   จากข้อจำกัดดังกล่าว ประชาชนไทยผู้มีสิทธิเลือกตั้งเหลือเวลาอีก 3 วัน ในการเข้าชื่อในกระดาษ ขอให้ทุกคนตามหาจุดลงชื่อจากเว็บไซต์ conforall.com ส่งรายชื่อให้ทัน และช่วยกันบอกต่อ จนกว่าเราจะได้รายชื่อแบบกระดาษทะลุ 50,000 รายชื่ออีกครั้ง
เขียนใหม่ไม่ใช่ล้มล้าง! ตอบคำถาม เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ “ไม่ใช่วิธีล้มล้างการปกครอง”
อ่าน

เขียนใหม่ไม่ใช่ล้มล้าง! ตอบคำถาม เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ “ไม่ใช่วิธีล้มล้างการปกครอง”

ข้อถกเถียงว่า “จะเขียนรัฐธรรมนูญใหม่อย่างไรดี” นั้นถูกแบ่งออกเป็นสองความคิดเห็นใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ต้องแก้ไขได้ในทุกหมวดทุกมาตรา และกลุ่มที่สนับสนุนให้ละเว้นการเขียนใหม่หรือการแก้ไขในรัฐธรรมนูญหมวด 1 บททั่วไป และหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ไว้ดังเดิม คำกล่าวอ้างสำคัญ คือ กังวลว่าจะเกิดความพยายามในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองของรัฐไทย ทั้งจากการเป็นรัฐเดี่ยวอันแบ่งแยกมิได้ และการธำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างไรก็ตาม การแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อเปิดช่องให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นั้นอยู่ภายใต้ มาตรา 255 ซึ่งขวางการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองไว้แล้ว รวมทั้งในอดีตรัฐธรรมนูญทั้งหมวด 1 และหมวด 2 ยังเคยถูกแก้ไขตาม “ข้อสังเกตพระราชทาน” หลังผ่านการทำประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญมาแล้วอีกด้วย
เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ  ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?
อ่าน

เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

เส้นทางของ “ประชาชน” ในการเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ “ประชามติ” เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นไม่ได้ยุ่งยากสลับซับซ้อนจนเกินไป แต่ระหว่างทางต้องเดินอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้กำกับดูแล ก่อนถึงมือคณะรัฐมนตรีที่จะเป็นผู้พิจารณาในด่านสุดท้าย
ทวงสัญญารัฐธรรมนูญใหม่ พรรคไหนเคยชูเป็นนโยบายบ้าง
อ่าน

ทวงสัญญารัฐธรรมนูญใหม่ พรรคไหนเคยชูเป็นนโยบายบ้าง

การแก้ไขรัฐธรรมนูญถูกนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญในนโยบายหาเสียงของหลายพรรค ก่อนการเลือกตั้ง 66 เมื่อผ่านการเลือกตั้งแล้วสส. ในสภาจึงต้องถูกทวงถามสิ่งที่เคยประกาศเอาไว้
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
เลือกตั้ง66: “บรรหารโมเดล” รัฐธรรมนูญ 40 และการลงมติรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนของชาติไทยพัฒนา
อ่าน

เลือกตั้ง66: “บรรหารโมเดล” รัฐธรรมนูญ 40 และการลงมติรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนของชาติไทยพัฒนา

ย้อนดูสสร. สมัยรัฐธรรมนูญ 40 และการปฏิรูปการเมืองแบบ "บรรหารโมดล" ก่อนมองความเป็นไปได้ของคำสัญญา "แก้ไขรัฐธรรมนูญ" ของพรรคชาติไทยพัฒนา 
แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา

ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงเดือนธันวาคม 2565 รัฐสภาร่วมกันระหว่าง ส.ส. และ ส.ว. ต้องอภิปรายลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งหมด ห้ายก รวมทั้งหมด 26 ข้อเสนอ รวมสถิติที่น่าสนใจในศึกการแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านมา