272 filibuster
อ่าน

ปิดสวิตช์ สว. รวมสองครั้งที่ไม่ได้โหวต

นับตั้งแต่สภาที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำงานในปี 2562 มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 เพื่อยกเลิกอำนาจสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ที่มาจากการแต่งตั้งในการเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) แต่ไม่ได้ความเห็นชอบถึงหกครั้ง แต่รู้หรือไม่ว่า มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อีกสองครั้งที่ “ไม่ได้โหวต” เสียด้วยซ้ำในสภา
To Naowarat
อ่าน

จดหมายเปิดผนึก ถึงเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา ศิลปินแห่งชาติ เพื่อการปิดสวิตช์ สว. ดังความตั้งใจ

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ เป็นสว. ที่ลงมติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตัดอำนาจตัวเองทุกครั้ง เราจึงเขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อขอโอกาสในการอธิบายข้อกฎหมายกับท่าน และหวังว่าท่านจะลงมติตามหลักการปิดสวิตช์สว. อย่างมั่นคงและงดงามนั้นเอง
53042969139_0db7cd874b_o
อ่าน

รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.
PM voting procedure
อ่าน

โหวตเลือกนายก รัฐสภาเปลี่ยนให้ ส.ส. โหวตก่อน ส.ว. เพื่อเช็คเสียงข้างมากได้

การลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีจะต้องกระทำโดยการขานชื่อสมาชิกรัฐสภาตามลำดับตัวอักษร แต่ท่ามกลางข้อเรียกร้องให้ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีตามเสียงข้างมากของ ส.ส. วิธีการหนึ่งคือให้ ส.ส. ได้เลือกนายกรัฐมนตรีก่อน และเมื่อทราบเสียงข้างมากแล้ว ก็ให้ ส.ว. แต่งตั้งลงคะแนนตาม
Senate Support Prayuth
อ่าน

เหตุผลที่ต้องโหวตประยุทธ์นายก? ย้อนดูคำอภิปราย 4 ส.ว. ก่อนโหวตนายกเมื่อปี 62

ก่อนจะไปถึงวันให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อยากชวนย้อนดูว่าในปี 2562 สมาชิกวุฒิสภาเคยอภิปรายสนับสนุนพล.อ.ประยุทธ์ไว้ว่าอย่างไรบ้าง
What happen if no PM can be selected
อ่าน

3 ความเป็นไปได้ถ้าเลือกนายกไม่ได้ ระวังได้ชื่อใหม่หรือคนนอกบัญชี

ความเป็นไปได้หนึ่งของการเลือกนายกรัฐมนตรีคือสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่มาจากการแต่งตั้งทั้ง 250 คน ขวางการจัดตั้งรัฐบาล โดยการงดออกเสียง เพื่อไม่ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใดได้เสียงถึงกึ่งหนึ่งของรัฐสภา การโหวตนายกรัฐมนตรีนี้ถือเป็นไพ่ใบสำคัญของ ส.ว.
52995173159_b9eefc9206_w
อ่าน

รวมวิวาทะ ส.ว. คิดอย่างไรเลือก “พิธา”เป็นนายก

ในการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 อดีตพรรคร่วมฝ่ายค้านอย่างพรรคก้าวไกลและพรรคเพื่อไทยครองเสียงในสภามากเป็นอันดับหนึ่งและสองตามลำดับโดยมีเสียงรวมกันเกือบ 300 คน ขณะที่พรรคแกนนำรัฐบาลเดิมอย่างพรรคพลังประชารัฐได้ที่นั่ง ส.ส.เป็นอันดับที่สี่ โดยมีส.ส.เพียง 40 ที่นั่งส่วนพรรครวมไทยสร้างชาติที่ตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อรองรับบทบาททางการเมืองของพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรีรักษาการและอดีตหัวหน้าคสช.ผู้แต่งตั้งสว.
First Three Steps Back to Democracy
อ่าน

เช็คจุดยืน 9 พรรคการเมือง คิดยังไงกับ 3 ข้อเสนอ ก้าวแรกพาประเทศไทยสู่ประชาธิปไตยเต็มใบ

เช็คความเห็นตัวแทน 9 พรรคการเมือง คิดอย่างไรกับสามข้อเสนอพาประเทศไทยกลับสู่ประชาธิปไตยหลังเลือกตั้ง 1) นายกรัฐมนตรีต้องเป็นส.ส. 2) พรรคที่ได้ส.ส.มากที่สุดควรได้รับสิทธิจัดตั้งรัฐบาลก่อน และ 3) ส.ว.ต้องเคารพเจตจำนงเสียงข้างมาก
Senator abstain
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส.ว. “งดออกเสียง” ไม่ช่วยอะไร แต่อาจเปิดทาง “นายกฯ นอกบัญชี”

 การ “งดออกเสียง” ของ ส.ว. ในการเลือกนายกรัฐมนตรีอาจจะดูเหมือนเป็นทางออกเพื่อการ “ปิดสวิชต์” ตัวเอง แต่ในความจริงแล้ว การงดออกเสียงจะทำให้ไม่มีแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใด ได้เสียงถึง 376 เสียง และจะเป็นการ “วีโต้” ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคที่ได้ ส.ส. เสียงข้างมาก ไม่อาจขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีได้
First Three Steps Back to Democracy
อ่าน

เลือกตั้ง 66: 3 ข้อเสนอ ก้าวแรกพาประเทศไทยกลับสู่ประชาธิปไตยเต็มใบ

แม้ปัจจุบันกติกาทางการเมืองจะยังไม่ปกติ แต่เราก็สามารถสร้างการเมืองที่ชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับของประชาชนได้ โดยเริ่มจากการมีรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีที่มีที่มาและคุณสมบัติตามครรลองประชาธิปไตย เพื่อก้าวแรกในการพาประเทศไทยกลับสู่ “ประชาธิปไตยเต็มใบ” ผ่านสามข้อเสนอ