marriage equality bill
อ่าน

ผ่านฉลุย! สภารับหลักการร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม 4 ฉบับ 369 : 10 เสียง

21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้งสี่ฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 369 เสียง ไม่เห็นด้วย 10 เสียง งดออกเสียง 0 เสียง และไม่ประสงค์ลงคะแนน 1 เสียง
marriage equality bill
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : เปิด 3 ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ปลดล็อกไม่จำกัดเฉพาะชาย-หญิง

21 ธันวาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยมีร่างที่สภาจะพิจารณาถึง 3 ฉบับ มีหลักการสำคัญทำนองเดียวกัน แต่ร่างแต่ละฉบับมีรายละเอียดแตกต่างกัน
19 dec 2023 update about civil law amendment for marriage equality
อ่าน

ลุ้น! ร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม เข้าสภา ส่งท้ายปี 66

19 ธันวาคม เศรษฐา ทวีสิน นายกฯ ให้สัมภาษณ์กับสื่อว่าครม. จะเสนอร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมเข้าสภาวันที่ 21 ธันวาคม นอกจากร่างที่ครม. เสนอ ยังมีร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมจาก สส. และจากภาคประชาชน ชวนจับตาสภาจะลงมติรับหลักการหรือไม่
13 dec 2023 update about civil law amendment for marriage equality
อ่าน

อัพเดทความคืบหน้าร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ จับตาหลังปีใหม่ #สมรสเท่าเทียม อาจได้เข้าสภา

13 ธันวาคม 2566 พรรคก้าวไกลเสนอให้สภาเลื่อนการพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมฉบับที่ สส. พรรคก้าวไกลเสนอขึ้นมาเพื่อจะได้พิจารณาเร็วขึ้น แต่ข้อเสนอดังกล่าวถูกปัดตกโดย สส. พรรคเพื่อไทยระบุว่ารัฐบาลก็กำลังจะเสนอ ชวนดูอัพเดทความคืบหน้าร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม 3 ฉบับ คืบหน้าไปถึงไหนบ้าง?
Comparison of 3 Gender Recognition Bills
อ่าน

เปิดข้อเสนอรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ-คำนำหน้า จากร่างกฎหมาย 3 ฉบับ

กฎหมายไทยยังคงรับรองสิทธิบุคคลยึดโยงตามเพศในระบบสองเพศ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่างก็มีข้อเสนอออกมาเป็นร่างกฎหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เป็นร่างกฎหมายสามฉบับ แม้หลักการสำคัญคือการรับรองสิทธิรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ และสิทธิของ Intersex แต่รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน
Law Petition - gender recognition bill
อ่าน

ประชาชนเสนอกฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ คำนำหน้า-เอกสารราชการยึดตามเจตจำนง

กฎหมายยังไทยที่เป็นอยู่ยังยึดโยงกรอบสองเพศ และไม่รับรองสิทธิและสถานะของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ภาคประชาชน ใช้กลไกการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเข้าชื่อเสนอร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพฯ หรือ GEN-ACT ต่อสภาผู้แทนราษฎร
civil code bill for marriage equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ต้องเริ่มเสนอใหม่ อยากให้เกิดขึ้นจริงได้ต้องช่วยกันส่งเสียง-จับตาสภา

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เคยผ่านวาระหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 นั้น "ตกไป" แล้ว การจะผลักดันกฎหมายสมรสเท่าเทียมให้เกิดขึ้นจริงได้จึงต้องเสนอร่างใหม่ ซึ่งมีร่างจากภาคประชาชนและร่างจากพรรคการเมืองพร้อมเสนอเข้าสภาแล้ว
2023 General Election LGBTQINA+ Policies
อ่าน

เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ

30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย
civil code bill for marriage equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
parliament pass civil code amendment and civil partnership bill
อ่าน

สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม

15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิตสองฉบับ หนึ่งฉบับเสนอโดยครม. อีกหนึ่งฉบับเสนอโดยส.ส.พรรคประชาธิปัตย์