Phue Thai Needs
อ่าน

รัฐบาลเพื่อไทย ต้องมีอย่างน้อย 13.25 ล้านเสียง เพื่อผ่านประชามติ “คำถามติดล็อก”

รัฐบาลเพื่อไทยให้ทำประชามติรัฐธรรมนูญ โดยคำถามที่มีเงื่อนไข ตามหลักเกณฑ์ของพ.ร.บ.ประชามติ จะผ่านได้ต้องอาศัย “เสียงข้างมากสองชั้น” ซึ่งเป็นงานที่ไม่ง่ายเลย
#ConForAll going to meet with Prime Minister
อ่าน

Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ

12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
iLaw's suggestion on referendum
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ

บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
what is government worried about referendum
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
People answer "Why we have to use #Conforall referendum question"
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
What Civil Societies say about New constitution Referendum
อ่าน

ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา “คณะกรรมการประชามติฯ” ได้เชิญภาคประชาสังคมจำนวนมากไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่ม คือ ผู้สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ผู้สนับสนุนการห้ามแก้ไขหมวดหนึ่งและหมวดสอง และ กลุ่มอื่นๆ 
How bad question pan out
อ่าน

คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”

การทำประชามติครั้งแรกเพื่อถามประชาชนว่าอยากได้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนเพราะคำถามที่ไม่ดีอาจจะทำให้กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญทำได้อย่างไม่ราบรื่น หรือไม่เป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เลวร้ายที่สุด ก็อาจจะถึงขั้นแพ้ประชามติ และปิดประตูการมีรัฐธรรมนูญใหม่ไปอีกหลายปี
Timeline Civil Petition for Referendum
อ่าน

ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!

ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ
ECT finished processing the signatures
อ่าน

กกต. แจ้ง ตรวจรายชื่อ #conforall เสร็จแล้ว ด่านต่อไป เลขาฯ ครม. ตรวจสอบและเอาเข้าที่ประชุม ครม.

20 กันยายน 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญได้รับหนังสือจากกกต. ว่าได้ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอจัดทำประชามติเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลังจากนี้ จะส่งเรื่องต่อไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการเพื่อให้ครม.มีมติเห็นชอบต่อไป