จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ เดินหน้าสมัคร #สว67 คว้าจังหวะชิงดำเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศ
อ่าน

จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ เดินหน้าสมัคร #สว67 คว้าจังหวะชิงดำเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศ

 เครือข่าย Senate 67 จัดงาน #สมัครเพื่อเปลี่ยน : จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ ที่ประตูท่าแพ เชียงใหม่ ผู้ไม่มีสิทธิสมัคร สว. ร่วมส่งกำลังใจให้ผู้ที่ลงสมัคร
จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ ชวนสมัคร #สว67 ไปรื้อรัฐธรรมนูญคสช. ชดเชยอนาคตลูกหลาน
อ่าน

จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ ชวนสมัคร #สว67 ไปรื้อรัฐธรรมนูญคสช. ชดเชยอนาคตลูกหลาน

17 พฤษภาคม 2567 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ มีงาน #สมัครเพื่อเปลี่ยน จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของเยาวชนนักกิจกรรมทางการเมืองและผู้ประสงค์ลงสมัครรับเลือกเป็นสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ในช่วง “โค้งสุดท้าย” ก่อนการเปิดรับสมัครจริงในวันที่ 20-24 พฤษภาคม 2567 และเข้าสู่การคัดเลือกด้วยระบบ “เลือกกันเอง” ของผู้สมัครที่อายุ 40 ปีขึ้นไป
อยากได้สภาเดี่ยว อยากยุบวุฒิสภา ก็ต้องสมัครสว. ปี 2567!
อ่าน

อยากได้สภาเดี่ยว อยากยุบวุฒิสภา ก็ต้องสมัครสว. ปี 2567!

หากต้องการสภาเดี่ยว ยุบวุฒิสภา ก็จำเป็นต้องสมัครเข้าไปเป็นสว. เพื่อออกเสียงหนึ่งในสามในการแก้ไขรัฐธรรมนูญยุบวุฒิสภา!
13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่

รัฐธรรมนูญ 2560 ไม่ได้มีปัญหาเพียงแค่ “ที่มา” จากคณะรัฐประหารของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัญหาในเชิง “เนื้อหา” ด้วยไม่แตกต่างกัน ถือเป็นโอกาสอันดีและควรเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลภายใต้การนำของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในการกำจัด “ผลไม้พิษ” อย่างรัฐธรรมนูญ 2560 และยุติปัญหาที่กระทบประชาชนทั้งประเทศโดยไม่ประวิงเวลาออกไปมากกว่านี้
6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก
อ่าน

6 เดือนรัฐบาลเศรษฐา รัฐธรรมนูญใหม่ยังไม่ได้เริ่มก้าวแรก

นโยบาย “จัดทำรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” โดยสสร. เลือกตั้ง เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของพรรคเพื่อไทยในช่วงจัดตั้งรัฐบาล นับถึงเดือนมีนาคม 2567 ก็เข้าเดือนที่หกแล้ว แต่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ยังไม่ได้เริ่มแม้แต่ขั้นตอนแรก
Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ
อ่าน

Con for All เยือนทำเนียบฯ 15 ม.ค.นี้ ขอพบนายกฯ หารือทางออกประชามติ

12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67
อ่าน

กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67

25 ธันวาคม 2566 คณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ที่มีภูมิธรรม เวชยชัย เป็นประธาน ได้ข้อสรุปการทำประชามติครั้งแรกนำสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ คำถามประชามติคำถามเดียว เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ไม่แตะ หมวด 1 ทั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ เตรียมเสนอรายงานต่อ ครม. ภายในไตรมาสแรกของปี 2567
พงศ์เทพ ยืนยัน ระบอบการปกครองเปลี่ยนไม่ได้ แต่หมวด1-2 ต้องแก้ได้
อ่าน

พงศ์เทพ ยืนยัน ระบอบการปกครองเปลี่ยนไม่ได้ แต่หมวด1-2 ต้องแก้ได้

พงศ์เทพอธิบายว่า ในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้าก็มีการแก้ไขหมวดหนึ่งและสองเรื่อยมา โดยเนื้อหาของหมวดดังกล่าวมีความเกี่ยวเนื่องกับหมวดอื่นๆด้วย ดังนั้น หากไม่ให้แก้หมวดหนึ่งและสองเลย แต่เนื้อหาหมวดอื่นเปลี่ยนไปแล้วจะมีปัญหาตามมา นอกจากนี้ยังมองว่า การใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งจะมีสัดส่วนความหลากหลายน้อยกว่าการใช้ประเทศเป็นเขตเลือกตั้งและการใช้กลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่
อ่าน

25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่

10 ธันวาคม 2566 นิกร จำนง โฆษกคณะกรรมการเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางในการทำประชามติ เพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นที่แตกต่างในเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 และประธานคณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 เข้าร่วมงานเสวนาที่จัดขึ้นบริเวณ “ลานประชาชน” หน้ารัฐสภา อธิบายถึงความคืบหน้าในการศึกษาแนวทางการทำประชามติ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่นิกรทำมาตลอด คือ การเดินสายชี้แจงและพูดคุยกับคนต่างๆ เกี่ยวกับการทำงานของคณะกรรมการชุดนี้
วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม
อ่าน

วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม

วรรณภา ติระสังขะ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในผู้ร่วมวงเสวนาได้ตั้งข้อสังเกตสำคัญของพัฒนาการรัฐธรรมนูญไทยว่า ที่ผ่านมาที่มาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญมีผลสัมพันธ์กันกับจุดประสงค์ของเนื้อหาในรัฐธรรมนูญเสมอ ซึ่งในอดีตรัฐธรรมนูญยุคแรกต่างพยายามรักษาหลักการ “อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของราษฎรทั้งหลาย” เอาไว้ก่อนถูกสังคมไทยทำหล่นหายไปในกาลต่อมา