CSO will start campaign for new three Gender's Law proposal soon.
อ่าน

ผลักดันความเท่าเทียมทางเพศให้ก้าวหน้า ภาคประชาชนเตรียมเข้าชื่อเสนอสามร่างกฎหมายเข้าสภาชุดนี้

20 กันยายน 2566 “ภาคีกฎหมายภาคประชาชน 3 ฉบับ เพื่อความเป็นธรรมทางเพศ” แถลงข่าวเพื่อเปิดตัวการนำเสนอร่างกฎหมายที่ภาคประชาชนจะเข้าชื่อเสนอ 3 ฉบับ คือ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ และร่างพ.ร.บ.ยกเลิกพ.ร.บ.ปราบปรามการค้าประเวณี
civil code bill for marriage equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ต้องเริ่มเสนอใหม่ อยากให้เกิดขึ้นจริงได้ต้องช่วยกันส่งเสียง-จับตาสภา

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ที่เคยผ่านวาระหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 นั้น "ตกไป" แล้ว การจะผลักดันกฎหมายสมรสเท่าเทียมให้เกิดขึ้นจริงได้จึงต้องเสนอร่างใหม่ ซึ่งมีร่างจากภาคประชาชนและร่างจากพรรคการเมืองพร้อมเสนอเข้าสภาแล้ว
constitution B.E. 2560 article 147
อ่าน

ได้ครม. ชุดใหม่ช้า กฎหมายค้างท่อสภาชุดก่อนหมดโอกาสพิจารณาต่อจากเดิม

ตามรัฐธรรมนูญ เมื่อยุบสภาหรือสภาหมดอายุ ร่างกฎหมายที่รัฐสภายังไม่ได้เห็นชอบ จะ "ตกไป" แต่ก็ยังมีช่องให้ร่างกฎหมายเหล่านั้นได้พิจารณาต่อได้ ถ้าครม. ชุดใหม่หลังเลือกตั้ง ขอมติจากรัฐสภาให้พิจารณาร่างกฎหมายนั้นต่อไป เงื่อนไขสำคัญ คือ ครม. ต้องขอภายใน 60 วันหลังประชุมรัฐสภาวันแรก
2023 General Election LGBTQINA+ Policies
อ่าน

เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ

30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย
civil code bill for marriage equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
52597597009_c706ea06fc_b
อ่าน

RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวกฎหมายในสภาตลอดปี

ในปี 2565 ทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีการพิจารณากฎหมายสำคัญหลายฉบับ โดยมีอย่างน้อยห้าฉบับ ที่เราอยากนำมาเล่าเพื่อให้เห็นความเคลื่อนไหวของกฎหมายในสภาตลอดปีนี้
52148561954_030355b24a_o
อ่าน

เตรียมจับตา! ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม – #คู่ชีวิต ผ่านวาระแรก แต่ยังเหลืออีกหลายด่าน

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติรับหลักการ ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการ #สมรสเท่าเทียม และ #คู่ชีวิต จำนวน 4 ฉบับ ได้แก่ ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ที่พรรคก้าวไกลเสนอ, ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ, ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ และสุดท้าย ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ที่ อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ และคณะ เป็นผู้เสนอ 
parliament pass civil code amendment and civil partnership bill
อ่าน

สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม

15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิตสองฉบับ หนึ่งฉบับเสนอโดยครม. อีกหนึ่งฉบับเสนอโดยส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 
52145819814_23f45ab9d5_o
อ่าน

เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างกฎหมายคู่ชีวิต 2 ฉบับ ซึ่งเสนอโดยครม. และส.ส.พรรคประชาธิปัตย์
civil code biil
อ่าน

สภายังไม่ได้ลงมติ #สมรสเท่าเทียม หลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.กัญชา-กัญชง กว่า 6 ชั่วโมง

8 มิ.ย. 2565 เดิมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่ต้องลงมติ “รับหลักการ” ในวาระหนึ่ง สามฉบับ ได้แก่ 1) ร่างพ.ร.บ.กัญชา กัญชง 2) ร่างพ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า และ 3) ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม แต่สภาพิจารณาแล้วเสร็จแค่สองฉบับแรก สมรสเท่าเทียมจึงต้องลุ้นต่อ 15 มิ.ย. 2565