ภาคประชาชนเสนอกฎหมาย ดันบำนาญแห่งชาติเพื่อเป็นหลักประกันผู้สูงอายุ
อ่าน

ภาคประชาชนเสนอกฎหมาย ดันบำนาญแห่งชาติเพื่อเป็นหลักประกันผู้สูงอายุ

เครือข่ายภาคประชาชนเข้าชื่อเสนอร่างพ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ ต่อสภา หลังจากเคยเสนอมาแล้วแต่ถูกพล.อ.ประยุทธ์ ปัดตก หลักการสำคัญสร้างบำนาญถ้วนหน้า ผู้สูงอายุได้บำนาญไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจน และอัตราเงินบำนาญจะปรับปรุงทุกสามปี
องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

องคมนตรี รัฐประหาร กับบทบาทใหม่ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์เป็นองคมนตรี ทำให้ชื่อของพลเอกประยุทธ์กลับมาเป็นที่กล่าวถึงอีกครั้งในบทบาทใหม่ที่ทำงานใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์มากยิ่งขึ้น
เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566
อ่าน

เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรมในรอบสิบปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2556-2566 ที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากคณะรัฐประหารมีอย่างน้อยสี่ร่าง ซึ่งมีความแตกต่างกันในรายละเอียดสำคัญ
ภาคประชาชนเดินหน้าเสนอกฎหมาย PRTR ผลักดันสิทธิเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสิ่งแวดล้อม
อ่าน

ภาคประชาชนเดินหน้าเสนอกฎหมาย PRTR ผลักดันสิทธิเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสิ่งแวดล้อม

หลายครั้งที่คนไทยได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุบัติภัยสารเคมีและมลพิษ แต่ประเทศไทยไม่มีกฎหมายเกี่ยวกัการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและการเคลื่อนย้ายสารมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม (PRTR) ภาคประชาชนจึงใช้กลไกเข้าชื่อเสนอกฎหมายดังกล่าว
ภาคประชาชนเดินหน้า เข้าชื่อเสนอต่อสภา ยกเลิกกฎหมายปราบปรามการค้าประเวณี
อ่าน

ภาคประชาชนเดินหน้า เข้าชื่อเสนอต่อสภา ยกเลิกกฎหมายปราบปรามการค้าประเวณี

ภาคประชาชนใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เสนอร่างพ.ร.บ.ยกเลิกพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การค้าบริการทางเพศโดยสมัครใจไม่เป็นความผิดอาญา และเพื่อให้ผู้ให้บริการทางเพศสามารถเข้าถึงสิทธิและได้รับการเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เช่นเดียวกับอาชีพอื่นๆ
เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112
อ่าน

เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112

เครือข่ายนิโทษกรรมประชาชนจึงเสนอร่างกฎหมายพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาคดีความที่คั่งค้างกับประชาชนทุกฝ่ายตั้งแต่การรัฐประหาร 2549 และเปิดให้ทุกคนช่วยกันแสดงความเห็นเพื่อปรับปรุงร่างได้
ทั้งเสนอแก้ไข – ยกเลิก ย้อนดูทางวิบากของการเสนอต่อมาตรา 112
อ่าน

ทั้งเสนอแก้ไข – ยกเลิก ย้อนดูทางวิบากของการเสนอต่อมาตรา 112

นับตั้งแต่ปี 2548 การเมืองไทยตกอยู่ในวังวนแห่งความขัดแย้งโดยมีเหตุการณ์ทางการเมืองใหญ่ๆ เกิดขึ้นเป็นระยะ มีการรัฐประหารสองครั้งคือรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 กับรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 มีเหตุการณ์ใช้กำลังทหารสลายการชุมนุมจนเกิดเหตุนองเลือดในปี 2552 และ 2553 และการชุมนุมทางการเมืองขนาดใหญ่อีกหลายต่อหลายครั้ง ในช่วงที่สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองมีความแหลมคม โดยเฉพาะในการชุมนุมของราษฎรปี 2563 การวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นทางการเมืองไม่ได้จำกัดอยู่แค่นายกรัฐมนตรี ทหารหรือนักการเมือง หากแต่ขยายไปถึงการวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ด้วย ทำให้ในช่วงเวลา
เปิดร่างแก้ไขกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน
อ่าน

เปิดร่างแก้ไขกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน

พรรคก้าวไกลเสนอแก้กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เพิ่มระดับความคุ้มครองสิทธิ-สวัสดิการแรงงาน เช่น ขยายวันลาคลอดจาก 98 วันเป็น 180 วัน เพิ่มสิทธิลาไปรักษาดูแลคนในครอบครัว/คนสนิท ไม่เกิน 15 วันทำงานต่อปี เพิ่ม “ห้องคุณแม่” ในสถานประกอบการ
เปิดข้อเสนอรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ-คำนำหน้า จากร่างกฎหมาย 3 ฉบับ
อ่าน

เปิดข้อเสนอรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ-คำนำหน้า จากร่างกฎหมาย 3 ฉบับ

กฎหมายไทยยังคงรับรองสิทธิบุคคลยึดโยงตามเพศในระบบสองเพศ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่างก็มีข้อเสนอออกมาเป็นร่างกฎหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เป็นร่างกฎหมายสามฉบับ แม้หลักการสำคัญคือการรับรองสิทธิรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ และสิทธิของ Intersex แต่รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน
ประชาชนเสนอกฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ คำนำหน้า-เอกสารราชการยึดตามเจตจำนง
อ่าน

ประชาชนเสนอกฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ คำนำหน้า-เอกสารราชการยึดตามเจตจำนง

กฎหมายยังไทยที่เป็นอยู่ยังยึดโยงกรอบสองเพศ และไม่รับรองสิทธิและสถานะของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ภาคประชาชน ใช้กลไกการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเข้าชื่อเสนอร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพฯ หรือ GEN-ACT ต่อสภาผู้แทนราษฎร