Study Committee on Referendum
อ่าน

ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ

คณะกรรมการศึกษาแนวทางการทำประชามติใช้เวลาทำงานถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2566 หรือ 2 เดือน 23 วัน จึงมีการแถลงสรุปผล แต่ดูเหมือนว่าไม่ได้ทำให้กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญชัดเจนขึ้น มากไปกว่านั้น เวลาที่เสียไปจากการศึกษายิ่งทำให้การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทอดเวลาออกไปอีก
referendum-research comittee announcement
อ่าน

กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67

25 ธันวาคม 2566 คณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ที่มีภูมิธรรม เวชยชัย เป็นประธาน ได้ข้อสรุปการทำประชามติครั้งแรกนำสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ คำถามประชามติคำถามเดียว เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ไม่แตะ หมวด 1 ทั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ เตรียมเสนอรายงานต่อ ครม. ภายในไตรมาสแรกของปี 2567
How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
Pongtep
อ่าน

พงศ์เทพ ยืนยัน ระบอบการปกครองเปลี่ยนไม่ได้ แต่หมวด1-2 ต้องแก้ได้

พงศ์เทพอธิบายว่า ในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้าก็มีการแก้ไขหมวดหนึ่งและสองเรื่อยมา โดยเนื้อหาของหมวดดังกล่าวมีความเกี่ยวเนื่องกับหมวดอื่นๆด้วย ดังนั้น หากไม่ให้แก้หมวดหนึ่งและสองเลย แต่เนื้อหาหมวดอื่นเปลี่ยนไปแล้วจะมีปัญหาตามมา นอกจากนี้ยังมองว่า การใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งจะมีสัดส่วนความหลากหลายน้อยกว่าการใช้ประเทศเป็นเขตเลือกตั้งและการใช้กลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
Nigorn Jumnong
อ่าน

25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่

10 ธันวาคม 2566 นิกร จำนง โฆษกคณะกรรมการเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางในการทำประชามติ เพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นที่แตกต่างในเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 และประธานคณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 เข้าร่วมงานเสวนาที่จัดขึ้นบริเวณ “ลานประชาชน” หน้ารัฐสภา อธิบายถึงความคืบหน้าในการศึกษาแนวทางการทำประชามติ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่นิกรทำมาตลอด คือ การเดินสายชี้แจงและพูดคุยกับคนต่างๆ เกี่ยวกับการทำงานของคณะกรรมการชุดนี้
53386689702_1f6c9f9378_o
อ่าน

เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ

ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน
What is goon new constitution
อ่าน

วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม

วรรณภา ติระสังขะ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในผู้ร่วมวงเสวนาได้ตั้งข้อสังเกตสำคัญของพัฒนาการรัฐธรรมนูญไทยว่า ที่ผ่านมาที่มาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญมีผลสัมพันธ์กันกับจุดประสงค์ของเนื้อหาในรัฐธรรมนูญเสมอ ซึ่งในอดีตรัฐธรรมนูญยุคแรกต่างพยายามรักษาหลักการ “อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของราษฎรทั้งหลาย” เอาไว้ก่อนถูกสังคมไทยทำหล่นหายไปในกาลต่อมา
Screenshot 2566-12-10 at 19
อ่าน

รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร

เนื่องในวันรัฐธรรมนูญ รัฐสภาจัดกิจกรรมที่ลานประชาชนตลอดทั้งวันโดยระหว่าง 18.00-19.30 น. มีงานเสวนาหัวข้อ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร มีความเห็นเช่น การถ่วงดุลอำนาจและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้มากขึ้น
constitution day seminar
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สภาร่างต้องยึดโยงประชาชน

10 ธันวาคม 2566 วันรัฐธรรมนูญ เสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อประชาชน เพื่อร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนมองไปข้างหน้าถึงการเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 
Con for All Talk
อ่าน

Con for All Talk : เสียงสะท้อนจาก 8 นักเคลื่อนไหว ทำไมต้องเขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยประชาชน?

 9 ธันวาคม 2566 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ จัดกิจกรรม ‘ปักธง ส่งต่อ สสร.เลือกตั้ง’ โดยในงานมีกิจกรรม Con for All Talk เปิดพื้นที่ให้แปดนักเคลื่อนไหวที่ทำงานหลากประเด็น มาร่วมสะท้อนปัญหาสังคม-ปัญหารัฐธรรมนูญ เรียกร้องการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับโดยประชาชน