49433647086_5930517920_w
อ่าน

ประเด็นกฎหมายชุมนุมที่ยังต้องเถียงกันต่อ จากกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง”

เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 มีการจัดกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” ขึ้นในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ แม้กิจกรรมดังกล่าวไม่มีการยื่นข้อเรียกร้อง ไม่มีเวทีปราศรัย ไม่มีการปักหลักยืดเยื้อ เป็นแต่เพียงการรวมตัวกันออกกำลังกายและแยกย้ายกันกลับหลังกิจกรรมยุติ แต่ในความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ “ลุง” ในกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” หมายถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและอดีตหัวหน้า คสช.
0001
อ่าน

#Attitude adjusted? ศรีสุวรรณ จรรยา : เมื่อนักร้อง(เรียน) ถูกเรียกปรับทัศนคติ

ศรีสุวรรณ จรรยา นายกสมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย หรือที่หลายคนให้สมญานามว่า “นักร้อง(เรียน)”กล่าวว่า การที่เขาถูกเรียกปรับทัศนคติเป็นเรื่องทางการเมืองที่อาจขัดแย้งต่อเจตนารมณ์ของ คสช. เช่น เรื่องทุจริตคอร์รัปชั่น หรือเกี่ยวกับองคาพยพของ คสช. และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง มาดูกันว่าในแต่ละครั้งนักร้อง(เรียน) ผู้นี้ถูกปรับทัศนคติอย่างไรบ้าง
02
อ่าน

เลื่อนไม่เลิก: การเลื่อนคดีของอัยการสร้างภาระที่เพิ่มขึ้นให้ผู้ต้องหา We Walk

5 มิถุนายน 2561 สำนักงานอัยการจังหวัดธัญบุรีแจ้งว่า ให้เลื่อนฟังคำสั่งว่าจะฟ้องคดีหรือไม่ฟ้องคดี ต่อแปดผู้ต้องหาจากการจัดกิจกรรม “We walk เดินมิตรภาพ” นับเป็นการเลื่อนฟังคำสั่งอัยการครั้งที่ห้าของคดีนี้ โดยนัดฟังคำสั่งอัยการอีกครั้ง ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2561
112-ถูกขัง-7-วัน-ในค่ายทหาร
อ่าน

#Attitude adjusted? ณัฐ: เจ็ดวันที่แสนน่าเบื่อในค่ายทหารของอดีตนักโทษคดี 112

ณัฐ อดีตนักโทษคดี 112 เล่าถึงความหลังเมื่อครั้งที่ชื่อของเขาเป็นหนึ่งในรายชื่อของอดีตนักโทษคดี 112 ที่ถูกคสช.เรียกเข้ารายงานตัวปรับทัศนคติในค่ายทหารหลังการรัฐประหารในปี 2557 โดยชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 18 ของคำสั่งคสช.ฉบับที่ 5/2557 ซึ่งออกในวันที่ 24 พฤษภาคม 2557
อ่าน

ไม่ใช่ทหารทุกคน จะมีอำนาจ บุก-จับ-ค้น ได้ทุกบ้าน

ประชาชนอาจจะคุ้นชินไปว่า ในยุคสมัยนี้ ทหารสามารถเข้าไปในบ้านของประชาชนไม่ว่าจะเพื่อตรวจค้น จับกุมผู้ต้องสงสัยได้ โดยอาศัยอำนาจตาม มาตรา44 ซึ่งความเข้าใจเช่นนี้เป็นความเข้าใจที่ผิด ที่สร้างบรรยากาศความกลัวทหาร จริงๆ แล้วอำนาจทหารก็มีอย่างจำกัดเช่นกัน
We Walk
อ่าน

เดินมิตรภาพ: ปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมทางกฎหมายจากเบื้องล่าง

สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ เขียนบทความถึงวัฒนธรรมการใช้กฎหมายของไทย ชี้ กิจกรรม Wewalk เดินมิตรภาพ ประชาชนกำลังต่อสู้เพื่อจะใช้กฎหมายควบคุมเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ปล่อยให้การใช้และการตีความเป็นหมายเป็นอำนาจของรัฐฝ่ายเดียว
Civil society sue the Head of the NCPO Order No. 3/2015
อ่าน

สรุปคำฟ้อง ‘ทวงคืนเสรีภาพ’ ยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558

กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตยและภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ โดยอาศัยสิทธิตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 เพื่อขอให้วินิจฉัยว่า คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 ข้อ 6 และข้อ 12 มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ รวมถึงคำสั่งควบคุมตัวและการควบคุมตัวผู้ร้องไว้โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เป็นการกระทำที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
Public Gathering Act
อ่าน

กฎหมายห้ามชุมนุมในรัฐทหาร

หากยังมีใครเชื่อว่าพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ เป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองผู้ชุมนุมอยู่อีก เขาผู้นั้นก็คงจะหูหนวกและตาบอดสนิท เทียบไม่ได้กับชาวบ้านธรรมดา ๆ ที่มองเห็นโลกตามความเป็นจริงเสียยิ่งกว่า ดังเสียงของชาวบ้านคนหนึ่ง พูดเอาไว้ว่า “ก่อน คสช. ทำการรัฐประหาร  พวกนายทุนหรือบริษัทฟ้องคดีเรา  แต่พอหลัง คสช. รัฐประหาร  รัฐกลับเป็นผู้ฟ้องคดี
อ่าน

“อำนาจบุกวัดพระธรรมกาย ตามคำสั่ง 5/2560 เปรียบเทียบกับ คำสั่ง 3/2558 และ กฎอัยการศึก”

ประกาศคำสั่ง คสช. ในการบุกวัดธรรมกายมีลักษณะคล้ายกฎอัยการศึก ที่อาจกระทบสิทธิเสรีภาพประชาชน และน่ากังวลว่าในอนาคตอาจจะใช้อำนาจนี้ในการบังคับใช้กับพื้นที่อื่นได้ต่อไป
thumb
อ่าน

การเดินทางในวันฟ้าปิดจากหมุดคณะราษฎร์สู่อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ

24 มิถุนายน 2559, 84 ปี หลังวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง กลุ่มกิจกรรมต่างๆออกมาจัดกิจกรรมกันอย่างคึกคัก เริ่มตั้งแต่กลุ่มกวีมันสูญและนักกิจกรรมกลุ่มเล็กๆอีกกลุ่มหนึ่งนัดรวมตัวที่หมุดคณะราษฎรในช่วงเช้ามืด มีความพยายามที่จะควบคุมตัว สิรวิชญ์ เสรีธิวัฒน์หรือ “นิว” ก่อนที่สุดท้ายเจ้าหน้าที่จะเปลี่ยนใจปล่อยให้ทำกิจกรรมต่อโดยไม่มีการควบคุมตัวหรือตั้งข้อหา แต่กิจกรรมที่อนุสาวรย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญเหตุการณ์ชุนมุลขึ้นไปอีกระดับหนึ่งเพราะเจ้าหน้าที่นำกำลังควบคุมตัวหกนักกิจกรรมที่เดินเท้าจากวัดพระศรีมหาธาตุไปที่สน.บางเขนพร้อมกับตั้งข้อหาฝ่าฝืนอำนาจคสช.