one nor
อ่าน

ทบทวนมติรัฐสภาซ้ำไม่ได้ ประธาน “วันนอร์” อ้างสภาจะขาดความน่าเชื่อถือ

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา มีนัดหมายลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 (ครั้งที่สาม) ในช่วงแรก ก่อนเข้าสู่วาระการโหวตนายก​ฯ วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภาอนุญาตให้ รังสิมันต์ โรม สส. บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล นำเสนอญัตติด่วน “กรณีขอให้ทบทวนมติรัฐสภาห้ามเสนอชื่อบุคคลเป็นนายกฯ ซ้ำ” ซึ่งค้างอยู่เมื่อการประชุมรัฐสภา เนื่องจากประธานรัฐสภาไม่อนุญาตให้พิจารณาญัตติดังกล่าวและสั่งเลื่อนประชุมเพื่อรอคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ 
senate vote Srettha
อ่าน

รวมจุดยืนสว. โหวต-ไม่โหวต “เศรษฐา” นั่งนายกฯ

การให้สัมภาษณ์แสดงจุดยืนต่อการโหวตนายกฯ ชื่อ "เศรษฐา ทวีสิน" ของสว. จำนวนหนึ่งยังไม่สามารถเห็นแนวทางที่ชัดเจนได้ เพราะตั้งแต่โหวตนายกฯ รอบแรกจากที่มีการเสนอ “พิธา ลิ้มเจริญรัตน์” แคนดิเดตนายกจากพรรคก้าวไกล ก็มีสว.บางคนที่เปลี่ยนใจจากจุดยืนที่ตัวเองเคยพูดไว้
Repeatedly Wrong
อ่าน

เพราะทำ “ผิดซ้ำผิดซ้อน” จึงเลือกนายกฯ ไม่ได้สักที

หลังผ่านเลือกตั้งมาสามเดือนศาลรัฐธรรมนูญ กำลังกลายเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ชะลอให้การตั้งรัฐบาลเกิดขึ้นไม่ได้เสียที เกิดเหตุการณ์ที่มีผู้ใช้อำนาจ "ผิด" หลักการของกฎหมาย เมื่อผิดไปแล้วหนึ่งครั้ง ก็ทำให้กระบวนการต่อๆ มามีเหตุต้องอ้างอิงเพื่อยันการใช้อำนาจที่ผิดทำให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นไปเรื่อยๆ
250 senate quote
อ่าน

Fact-checking : เลือกนายกฯ เสนอชื่อเดิมกี่ครั้งก็ได้ 3 ชื่อในบัญชีไม่ได้มีเพื่อบังคับหนึ่งชื่อหนึ่งครั้ง

เสรี สุวรรณภานนท์ อภิปรายระหว่างการพิจารณาญัตติเสนอชื่อพิธา ครั้งที่สองเป็นการเสนอญัตติซ้ำหรือไม่ โดยคำกล่าวอ้างสนับสนุนมีจุดที่ไม่ถูกต้อง “3 ชื่อบัญชีแคนดิเดตนายกฯ ไม่ได้มีเพื่อบังคับพิจารณาชื่อหนึ่งคนหนึ่งครั้ง”
Vote PM
อ่าน

Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ

ระหว่างที่ประชุมรัฐสภาจะลงมติเลือกนายกฯ ครั้งที่สอง และมีผู้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ฝั่งอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.พรรครวมไทยสร้างชาติ ลุกขึ้นประท้วงว่าเป็นญัตติซ้ำ ทั้งที่กระบวนการนี้ไม่ใช่ญัตติ และข้อบังคับการประชุมไม่ใหญ่กว่ารัฐธรรมนูญ
53054648824_27d81eceae_o
อ่าน

112 FACT-CHECKING : 112 ไม่ใช่ต้นทุนทางวัฒนธรรม หากเป็นมรดกรปห. 6 ตุลา

ลักษณะสำคัญของความผิดฐานหมิ่นกษัตริย์ฯ ในประวัติศาสตร์ไทย คือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่ง “ต้นทุน” ที่ก่อตัวขึ้นในสังคม คือ การปรับตัวของกฎหมายและสถาบันพระมหากษัตริย์ของไทยไปตามยุคสมัย
senate 272
อ่าน

ย้อนรอย สว.ฟังเสียงข้างมาก เห็นชอบ “พิธา” และเคยโหวตปิดสวิตช์ตัดอำนาจตัวเอง

ชวนย้อนรอยดูผลการโหวตแก้ไขมาตรา 272 (ปิดสวิตช์ส.ว.เลือกนายกฯ) ควบคู่กับมติโหวตนายกฯ ล่าสุด ว่าส.ว.คนใดเคยรับหลักการพร้อมเคียงข้างประชาชนกันบ้าง
To Naowarat
อ่าน

จดหมายเปิดผนึก ถึงเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา ศิลปินแห่งชาติ เพื่อการปิดสวิตช์ สว. ดังความตั้งใจ

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ เป็นสว. ที่ลงมติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตัดอำนาจตัวเองทุกครั้ง เราจึงเขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อขอโอกาสในการอธิบายข้อกฎหมายกับท่าน และหวังว่าท่านจะลงมติตามหลักการปิดสวิตช์สว. อย่างมั่นคงและงดงามนั้นเอง
senate uturn
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
Pita Not today
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย