campaign #Respectmyvote66
อ่าน

ชวนส่งเสียง หาก ส.ว. #เลือกนายกตามผลเลือกตั้ง เราจะ…

ชวนส่งเสียงพร้อมกัน วันพุธที่ 12 กรกฎาคม 2566  หาก ส.ว. #เลือกนายกตามผลเลือกตั้ง เราจะ… ที่หน้าโซเชียลมีเดียของตัวเอง ถ้าพร้อมจะแชร์กับเพื่อนๆ คนอื่น ตั้งค่าโพสเป็นสาธารณะ และติดแฮชแท็ก #เลือกนายกตามผลเลือกตั้ง หรือ #Respectmyvote66  
#RespectMyVote66 Seminar
อ่าน

#RespectMyVote66: นายกฯ ต้องมาจากพรรคเสียงข้างมาก “ส.ส.-ส.ว.” ต้องลงคะแนนรักษาหลักการประชาธิปไตย

เครือข่าย Respect My Vote จัดงานเสวนา “เคารพผลเลือกตั้ง ฟังเสียงประชาชน” เพื่อพูดคุยถึงสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในวันเลือกนายกฯ รวมถึงเรียกร้องให้ ส.ส และส.ว. เคารพผลการเลือกตั้ง ด้วยการสนับสนุนแคนดิเดตนายกฯ ที่ได้รับเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฏร
3 solutions for thai politics
อ่าน

เลือกตั้ง66 : สามทางออกการเมืองไทย เพื่อให้ได้รัฐบาลเสียงข้างมากจากประชาชน!

เพื่อรักษาหลักการประชาธิปไตย ประเทศไทย ณ ขณะนี้จึงเหลือทางออกเพียงสามทางเท่านั้นที่จะทำให้เสียงของประชาชนหลังการเลือกตั้งมีความหมาย โดยตั้งแต่วันนี้จนถึงวันลงเสียงเลือกนายกรัฐมนตรียังมีวิธีรักษาหลักการได้ดังต่อไปนี้
non-governing parties
อ่าน

ในสภาวะ “ไม่ปกติ” ไม่ใช่พรรครัฐบาลก็ช่วยสนับสนุนเสียงข้างมากได้

ในสภาวะที่ไม่ปกติ ส.ว. แต่งตั้งยังสามารถกำหนดความเป็นไปของรัฐบาลใหม่ได้เช่นนี้ ส.ส. ทุกคนในฐานะที่มีที่มาซึ่งชอบธรรมจากการเลือกตั้งโดยประชาชนสามารถช่วยรักษาหลักการประชาธิปไตยเสียงข้างมากได้ โดยการยืนยันสนับสนุนแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี จากฝ่ายเสียงข้างมาก
Logo - Black BG
อ่าน

ภาคประชาชนจัดงานเสวนา “เคารพผลเลือกตั้ง ฟังเสียงประชาชน” วันที่ 6 ก.ค. 66

ก่อนที่รัฐสภาจะลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนต่อไป ภาคประชาชนในนามเครือข่าย Respect My Vote จึงร่วมกันจัดงานเสวนาหัวข้อ "เคารพผลเลือกตั้ง ฟังเสียงประชาชน" ที่ห้องประชุมริมน้ำ (ห้อง 107) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2566
PM voting procedure
อ่าน

โหวตเลือกนายก รัฐสภาเปลี่ยนให้ ส.ส. โหวตก่อน ส.ว. เพื่อเช็คเสียงข้างมากได้

การลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีจะต้องกระทำโดยการขานชื่อสมาชิกรัฐสภาตามลำดับตัวอักษร แต่ท่ามกลางข้อเรียกร้องให้ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีตามเสียงข้างมากของ ส.ส. วิธีการหนึ่งคือให้ ส.ส. ได้เลือกนายกรัฐมนตรีก่อน และเมื่อทราบเสียงข้างมากแล้ว ก็ให้ ส.ว. แต่งตั้งลงคะแนนตาม
Senate can vote PM
อ่าน

เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย

อย่างที่ทราบกันดีว่า การมีส่วนร่วมในการโหวตเลือกนายกฯ ของ ส.ว. ชุดพิเศษ เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย เพราะ ส.ว.ทั้งหมดมาจากการแต่งตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นตัวแทนของประชาชน โดยในจำนวน ส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน มีตัวแทนจากผู้บัญชาการเหล่าทัพ 6 คน
50070967461_3730cfb9f2_o
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.

หากพิจารณาจาก “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งถูกร่างขึ้นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำการรัฐประหารในปี 2557 ก็จะพบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้องการให้ “วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง” เป็นหลักประกันทางอำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องการจะดำรงอยู่หลังการเลือกตั้ง ดังนั้น จึงต้องให้อำนาจ ส.ว. ไว้เป็นพิเศษ
Amend Additional Question
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย