what the senators votes then and nows
อ่าน

เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม

การประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งที่สามเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 จบลงด้วยชัยชนะของ เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย ด้วยมติเห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165 เสียง และงดออกเสียง 81 เสียง จากทั้งรัฐสภา ทำให้ประเทศไทยเตรียมมีนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 หลังการเลือกตั้งมาแล้วกว่า 100 วัน   อย่างไรก็ตาม การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคก้าวไกล มีสาเหตุมาจากการที่สมาชิกวุฒิสภา สว. “งดออกเสียง” ภายใต้ข้ออ้างว่าเป็นการ “ปิดสวิตช์ตนเอง” มากถึง 159 เสียง ขณะที่ในการลงมติครั้งนี้มี สว. งดออกเสียงเพียง 68 เสียงเท่านั้น   เท่ากับว่า มี สว. จำนวนมากที่เปลี่ยนใจ หันมาโหวตเลือกเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีมากกว่าเลือกพิธา  
senate vote Srettha
อ่าน

รวมจุดยืนสว. โหวต-ไม่โหวต “เศรษฐา” นั่งนายกฯ

การให้สัมภาษณ์แสดงจุดยืนต่อการโหวตนายกฯ ชื่อ "เศรษฐา ทวีสิน" ของสว. จำนวนหนึ่งยังไม่สามารถเห็นแนวทางที่ชัดเจนได้ เพราะตั้งแต่โหวตนายกฯ รอบแรกจากที่มีการเสนอ “พิธา ลิ้มเจริญรัตน์” แคนดิเดตนายกจากพรรคก้าวไกล ก็มีสว.บางคนที่เปลี่ยนใจจากจุดยืนที่ตัวเองเคยพูดไว้
53070208650_1637626979_o
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
250 senate quote
อ่าน

Fact-checking : เลือกนายกฯ เสนอชื่อเดิมกี่ครั้งก็ได้ 3 ชื่อในบัญชีไม่ได้มีเพื่อบังคับหนึ่งชื่อหนึ่งครั้ง

เสรี สุวรรณภานนท์ อภิปรายระหว่างการพิจารณาญัตติเสนอชื่อพิธา ครั้งที่สองเป็นการเสนอญัตติซ้ำหรือไม่ โดยคำกล่าวอ้างสนับสนุนมีจุดที่ไม่ถูกต้อง “3 ชื่อบัญชีแคนดิเดตนายกฯ ไม่ได้มีเพื่อบังคับพิจารณาชื่อหนึ่งคนหนึ่งครั้ง”
Thailand's 2017 constitution make election winners losing
อ่าน

เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!

รัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
66 days after elections still don't have government
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
Vote PM
อ่าน

Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ

ระหว่างที่ประชุมรัฐสภาจะลงมติเลือกนายกฯ ครั้งที่สอง และมีผู้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ฝั่งอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.พรรครวมไทยสร้างชาติ ลุกขึ้นประท้วงว่าเป็นญัตติซ้ำ ทั้งที่กระบวนการนี้ไม่ใช่ญัตติ และข้อบังคับการประชุมไม่ใหญ่กว่ารัฐธรรมนูญ
อ่าน

Fact-checking : สว.มาจากการสรรหาโดยคสช.และประชามติที่ไม่เสรีเป็นธรรม

สว.มาจากประชามติที่ผ่านมาด้วย 16 ล้านเสียง … เป็นคำกล่าวอ้างของสว.ระหว่างการอภิปรายโหวตนายกรัฐมนตรี แต่ประชามติที่ไม่เสรีเป็นธรรมไม่สามารถยกขึ้นอ้างเป็นความชอบธรรมได้
prime minister vote
อ่าน

เช็คเสียงก่อนโหวตเลือกนายกฯ ส.ส.+ส.ว. ครบ 750 คน ต้องการ 376 เสียงเพื่อนายกฯ คนที่ 30

หลังเลือกตั้งจนถึงช่วงก่อนเลือกนายกฯ มีส.ส. บางส่วนที่ลาออก ซึ่งส่งผลให้จำนวนเสียงที่ต้องใช้สำหรับเลือกนายกฯ เปลี่ยนไป แต่ก่อนถึงวันเลือกตั้ง ก็มีการเลื่อนบัญชีรายชื่อขึ้นมาแล้ว ทำให้ในวันเลือกนายกฯ ส.ส. ส.ว. จะครบสภา และต้องใช้เสียง 376 เสียงขึ้นไปในการเคาะเลือกนายกฯ