Study Committee on Referendum
อ่าน

ผลงานกรรมการประชามติฯ เดินหน้าเป็นวงกลม ประชุมเกือบ 3 เดือนสร้างคำถามมากกว่าคำตอบ

คณะกรรมการศึกษาแนวทางการทำประชามติใช้เวลาทำงานถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2566 หรือ 2 เดือน 23 วัน จึงมีการแถลงสรุปผล แต่ดูเหมือนว่าไม่ได้ทำให้กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญชัดเจนขึ้น มากไปกว่านั้น เวลาที่เสียไปจากการศึกษายิ่งทำให้การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทอดเวลาออกไปอีก
53386689702_1f6c9f9378_o
อ่าน

เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ

ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน
Conclusion of second constitution draft from Assembly of the Poor.
อ่าน

สรุป “ร่างรัฐธรรมนูญคนจน” อีกหนึ่งเสียงเรียกร้องรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย

การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ไม่ใช่พื้นที่เฉพาะของฝ่ายการเมืองเท่านั้น แต่ภาคประชาชนยังมีส่วนร่วมสำคัญในการกำหนดอนาคตประเทศครั้งนี้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างสำคัญคือ "ร่างรัฐธรรมนูญคนจน" ของ "สมัชชาคนจน" ที่เสนอการยกระดับประชาธิปไตยและการคุ้มครองสิทธิของคนทุกคนขึ้นไปให้มากกว่าที่เคยมีมา  
constituent assembly
อ่าน

นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%

การเลือกตั้ง สสร. โดยประชาชนทั้งหมด และบทบาทของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่เรื่องที่ขัดแย้งกัน แต่หากยึดว่าอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นของประชาชน การออกแบบระบบเพื่อหาที่ทางให้กับคนเหล่านี้ก็ยังมีความเป็นไปได้
Pheu Thai's position on rewriting the constitution
อ่าน

เช็คจุดยืนเพื่อไทย เขียนรัฐธรรมนูญใหม่

แม้ว่าการร่างรัฐธรรมนูญใหม่จะเป็นวาระสำคัญ แต่จะร่างอย่างไร และหน้าตาของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) จะเป็นแบบใดยังคงไม่มีความชัดเจน ย้อนดูคำพูดของพรรคเพื่อไทยในประเด็นที่เกี่ยวกับจุดยืนการร่างรัฐธรรมนูญใหม่
Referendum question
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
Approve Referendum Question
อ่าน

ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ

คำถามประชามติ คือสิ่งที่สำคัญในการกำหนดทิศทางการรณรงค์และลงคะแนนของประชาชนว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับคำถามนั้น ถ้าคำถามมีปัญหาก็อาจจะส่งผลต่อการลงคะแนนเสียงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนหรืออาจทำให้การจัดประชามติไร้ความหมาย ดังนั้นคำถามจะถูกจัดการออกมาในรูปแบบไหนถึงมีความสำคัญไม่แพ้การออกเสียงประชามติ                  
52335938419_66d288c1f9_o
อ่าน

เหตุผล ส.ว.ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญประชาชน และไม่ตัดอำนาจเลือกนายกฯ

6-7 ก.ย.65 รัฐสภามีวาระพิจารณาร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่เสนอตัดอำนาจส.ว.ในการเลือกนายกรัฐมนตรี หากรัฐสภาเห็นชอบอาจส่งผลให้การเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีเฉพาะ ส.ส.เป็นผู้ให้ความเห็นชอบนายกรัฐมนตรีเท่านั้น  
287938576_10166675234785551_5512330685017558630_n
อ่าน

อัษฎา : จากการตรวจสอบทุจริตสู่พลเมืองตื่นรู้

อัษฎา งามศรีขำ หรือ “ป้าอัษ” อายุ 56 ปีเป็นหนึ่งใน 11 จำเลยคดีคาร์ม็อบหาดใหญ่เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2564 การชุมนุมวันดังกล่าวมีเป้าหมายหลักคือ การขับไล่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ป้าอัษบอกว่า วันนั้นเธอใส่แมสก์ อยู่บนรถ เว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัยและไม่สร้างผลกระทบต่อผู้ใช้รถใช้ถนนคนอื่นๆ แต่ก็ไม่วายถูกดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่ออกเมื่อเพื่อควบคุมโรคโควิด และข้อหาอื่นๆ รวมห้าข้อ เธอเป็นใครมาจากไหน เหตุใดชาวหาดใหญ่ พื้นที่อันเป็นฐานที่มั่นของพรรครัฐบาลจึงออกมาร่วมคาร์ม็อบ ขับไล่รัฐบาล ชวนรู้จักชีวิตและประสบการณ์การต่อสู้ของป้าอัศที่หล่อหลอมให้เธอเป็นอีกหนึ่งคนที
242096525_10165862590835551_4722984961323691485_n
อ่าน

ไดโน่ นวพล ต้นงาม: เราจะสู้กับความรุนแรงของรัฐด้วยความสนุกสนาน

นวพล ต้นงาม หรือ ไดโน่ ทะลุฟ้า เป็นหนึ่งในผู้ชุมนุมกลุ่มทะลุฟ้า ที่ร่วมการชุมนุมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 ที่หน้า กองบังคับการตํารวจปราบปรามยาเสพติด การชุมนุมครั้งดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากในวันที่ 1 สิงหาคม สมาชิกเครือข่ายคนรุ่นใหม่นนทบุรีบางส่วนถูกจับกุมระหว่างร่วมคาร์ม็อบและถูกควบคุมตัวไปที่กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 1 ปทุมธานี ในช่วงเย็นจึงมีประชาชนบางกลุ่มเดินทางไปชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้ปล่อยตัวคนที่ถูกจับกุม หลังการชุมนุมที่หน้ากองบังคับการ ตชด.