ConCourt Judges
อ่าน

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพร้อมหน้า ร่วมยินดีสว. สมชาย แสวงการ รับป.เอก

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ร่วมแสดงความยินดีที่สว. สองคนได้รับปริญญาเอก เรื่องนี้มีที่มาเพราะสมชาย แสวงการ สว. ที่รับปริญญาผ่านการคัดเลือกโดยศาลรัฐธรรมนูญให้มาเรียน และกรรมการสอบเล่มจบก็ไม่ใช่ใครอื่น
constitutional court judges
อ่าน

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่สว.ชุดพิเศษแต่งตั้ง จะทยอยหมดวาระในปี 2570

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดเก้าราย ส่วนใหญ่หกคน มาจากรัฐธรรมนูญ 2560 ผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาชุดพิเศษ และมีวาระการดำรงตำแหน่งเจ็ดปี อีกสามราย มีวาระดำรงตำแหน่งเก้าปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550 ตุลาการทั้งเก้าคน จะพ้นจากตำแหน่งในเวลาแตกต่างกัน
Udom Rattaammarit's Bio
อ่าน

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ อุดม รัฐอมฤต อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากบทบาทในฐานะนักวิชาการแล้ว อุดมยังมีบทบาทต่อการเมืองไทย ในฐานะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560
Udom
อ่าน

จับตา! กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรธน. อาจได้คนใหม่หน้าคุ้น อุดม รัฐอมฤต อดีตกรธ.

ตำแหน่งแห่งที่ในศาลรัฐธรรมนูญกำลังเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง เมื่อทวีเกียรติ  มีนะกนิษฐ พ้นตำแหน่งแล้ว จึงต้องมีการสรรหาผู้สมควรเป็นตุลาการแทนตำแหน่งที่ว่าง ซึ่งมีเพียงคนเดียวที่สมัครและผ่านด่านกรรมการสรรหาฯ คือ อุดม รัฐอมฤต อดีตกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ปี 2560
parliament meeting
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66

ช่วง “โค้งสุดท้าย” ของสภา จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อกระบวนการจัดทำและแก้ไขกฎหมายต่างๆ หากพิจารณาร่างกฎหมายไม่ทัน ร่างกฎหมายก็จะตกไปและต้องริเริ่มกันใหม่ในสมัยประชุมหน้า
President of the Constitutional Court
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

22 เม.ย. 2565  คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมการดำรงตำแหน่งของวรวิทย์ กังศศิเทียม ประธานศาลรัฐธรรมนูญ โดยกรรมการสรรหาฯ พิจารณาว่า วรวิทย์ไม่มีลักษณะต้องห้ามในการดำรงตำแหน่งประธานศาลรัฐธรรมนูญ
women in parliament, constitutional court and independent entity
อ่าน

ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565

เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล (8 มีนาคม) ชวนมาสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของผู้หญิงในองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทย ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ ว่ามีผู้หญิงที่ปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรเหล่านี้เป็นสัดส่วนเท่าใดบ้าง 
constitutional court's decision civil code article 1448 is constitutional
อ่าน

แจกแจงประเด็นจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่สนข้อกฎหมาย ไม่เข้าใจ #สมรสเท่าเทียม

2 ธ.ค. 2564 เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2564 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 ที่รับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ชวนชำแหละเนื้อหาคำวินิจฉัยฉบับเต็ม ดูร่องรอยทัศนะคติของตุลาการที่มีต่อประชาชนเพศหลากหลาย
Bunjongsak Wongprachaya Judge of constitutional court
อ่าน

ส.ว.เห็นชอบ ‘บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์’ เป็นศาลรัฐธรรมนูญ

13 กรกฎาคม 2563 ที่ประชุมวุฒิสภา มีมติเห็นชอบให้ บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตัวแทนจากศาลปกครองสูงสุด ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ ทำให้ขณะนี้ตุลากาลศาลรัฐธรรมนูญของประเทศไทยมีครบองค์คณะ 9 คนตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้ว