ประชาชนยื่นหนังสือ ขอเปิดข้อมูล “คตส.” ทีมไล่ฟ้องแทนประยุทธ์
อ่าน

ประชาชนยื่นหนังสือ ขอเปิดข้อมูล “คตส.” ทีมไล่ฟ้องแทนประยุทธ์

ประชาชนยื่นหนังสือต่อสำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ขอใช้สิทธิตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปี 2540 เพื่อให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการตั้ง “คณะกรรมการตรวจสอบและดำเนินคดีแก่ผู้เผยแพร่ข้อความอันเป็นเท็จเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค” หรือ คตส. ของนายรัฐมนตรี หวั่นเปิดการใช้อำนาจรัฐละเมิดสิทธิเสรีภาพประชาชน
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ผู้ชนะคดีฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ชี้บทบาทศาลควรตรวจสอบกฎหมายของคณะรัฐประหาร
อ่าน

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ผู้ชนะคดีฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ชี้บทบาทศาลควรตรวจสอบกฎหมายของคณะรัฐประหาร

8 มิถุนายน 2564 วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ารับฟังคำพิพากษาของศาลแขวงดุสิต และศาลพิพากษายกฟ้องเรียบร้อย หลังเสร็จสิ้นคดีที่ต่อสู้มานยาวนาน 7 ปี พอๆ กับอายุของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
7 ปี แห่งความถดถอย : รวมกฎหมายที่ถูก “ขุด” มาดำเนินคดีปิดปาก
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : รวมกฎหมายที่ถูก “ขุด” มาดำเนินคดีปิดปาก

ตลอด 7 ปี ของการปกครองโดย คสช. ทั้งก่อนและหลังเลือกตั้ง “กฎหมาย” ที่มีอยู่ถูกนำมาใช้ตั้งข้อหาดำเนินคดีกับผู้ที่แสดงความคิดเห็นแตกต่างจากผู้ปกครอง กฎหมายและกระบวนการบังคับใช้กฎหมายกลายเป็น “เครื่องมือ” สำหรับ “ปิดปาก”​ ฝ่ายตรงข้าม
โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ
อ่าน

โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ

ท่ามกลางสถานการณ์ที่ไวรัสโควิด-19 กำลังแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว รัฐบาลบางประเทศได้ตัดสินใจปล่อยผู้ต้องขังในเรือนจำบางส่วนเพื่อลดความแออัดในพื้นที่อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผลต่อการแพร่กระจายของไวรัส 
ชุมนุม 64 : บททดสอบของราษฎรยามเพื่อนถูกจองจำ
อ่าน

ชุมนุม 64 : บททดสอบของราษฎรยามเพื่อนถูกจองจำ

กระแสการชุมนุมในปี 2564 ดูผิวเผินเหมือนจะลดความร้อนแรงลงด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ระลอก 2 ที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม 2563 ราษฎรในฐานะผู้จัดการชุมนุมหลักพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเช่น จัดกิจกรรมให้กำลังใจผู้ถูกดำเนินคดีผ่านโปรแกรมซูม (Zoom) และจัดการปราศรัยในพื้นที่เป้าหมายแบบไม่นัดมวลชนให้มาร่วมและเผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดียและสื่อมวลชนแทน
รู้จักสิทธิขั้นพื้นฐาน กรณีถูกคุกคาม-เรียก-จับ จากการแสดงออกทางการเมือง
อ่าน

รู้จักสิทธิขั้นพื้นฐาน กรณีถูกคุกคาม-เรียก-จับ จากการแสดงออกทางการเมือง

ชวนทำความเข้าใจสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน เมื่อถูกตำรวจหรือเจ้าหน้าที่รัฐติดตาม คุกคาม เรียกให้ไปพบ หรือจับกุม จากการแสดงออกทางการเมืองภายใต้การประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยาวนานกว่าหนึ่งปีเต็ม และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ถ้าตำรวจมาหาที่บ้าน ต้องทำยังไง?
ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
เรื่องเล่าจากห้องพิจารณาคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร 29 มีนาคม 2564
อ่าน

เรื่องเล่าจากห้องพิจารณาคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร 29 มีนาคม 2564

29 มีนาคม 2564 ที่ห้องพิจารณาคดีที่ 704 ศาลอาญานัดตรวจหลักฐานคดีการชุมนุม #19กันยาทวงคืนอำนาจราษฎร แม้การนัดตรวจพยานหลักฐานจะเลื่อนออกไป แต่ก็ใช้เวลาในห้องพิจารณาคดีนานมาก และมีเรื่องราวชีวิตให้บันทึกและจดจำมากมาย
หมู่บ้านทะลุฟ้า: เมื่อสลายการชุมนุมไม่ชอบธรรมประชาชนจึงต้องอารยะขัดขืน
อ่าน

หมู่บ้านทะลุฟ้า: เมื่อสลายการชุมนุมไม่ชอบธรรมประชาชนจึงต้องอารยะขัดขืน

28 มีนาคม 2564  เวลา 05.57 น. ตำรวจควบคุมฝูงชนนำกำลังเข้าสลายการชุมนุม #หมู่บ้านทะลุฟ้าV2 ที่ถนนพระราม 5 ข้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ เหตุในการสลายการชุมนุมจึงไม่ชอบธรรมและไม่เป็นไปตามหลักความได้สัดส่วน