รวมวิวาทะว่าด้วยมาตรา 112 และสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการอภิปรายคุณสมบัตินายกรัฐมนตรี
อ่าน

รวมวิวาทะว่าด้วยมาตรา 112 และสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการอภิปรายคุณสมบัตินายกรัฐมนตรี

พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ได้เสียงจากรัฐสภาไม่พอให้เป็นนายกรัฐมนตรีโดยคนที่ไม่โหวตทั้งหลายอ้างประเด็นการเสนอแก้ไขมาตรา112 เป็นเหตุที่ไม่โหวตให้
Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ
อ่าน

Fact-checking : โหวตนายกฯ ไม่ใช่ญัตติทั่วไป เป็นการดำเนินการตามรัฐธรรมนูญ

ระหว่างที่ประชุมรัฐสภาจะลงมติเลือกนายกฯ ครั้งที่สอง และมีผู้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ฝั่งอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ ส.ส.พรรครวมไทยสร้างชาติ ลุกขึ้นประท้วงว่าเป็นญัตติซ้ำ ทั้งที่กระบวนการนี้ไม่ใช่ญัตติ และข้อบังคับการประชุมไม่ใหญ่กว่ารัฐธรรมนูญ
เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
112 FACT-CHECKING  : 112 ไม่ใช่ต้นทุนทางวัฒนธรรม หากเป็นมรดกรปห. 6 ตุลา
อ่าน

112 FACT-CHECKING : 112 ไม่ใช่ต้นทุนทางวัฒนธรรม หากเป็นมรดกรปห. 6 ตุลา

ลักษณะสำคัญของความผิดฐานหมิ่นกษัตริย์ฯ ในประวัติศาสตร์ไทย คือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่ง “ต้นทุน” ที่ก่อตัวขึ้นในสังคม คือ การปรับตัวของกฎหมายและสถาบันพระมหากษัตริย์ของไทยไปตามยุคสมัย
ย้อนรอย สว.ฟังเสียงข้างมาก เห็นชอบ “พิธา” และเคยโหวตปิดสวิตช์ตัดอำนาจตัวเอง
อ่าน

ย้อนรอย สว.ฟังเสียงข้างมาก เห็นชอบ “พิธา” และเคยโหวตปิดสวิตช์ตัดอำนาจตัวเอง

ชวนย้อนรอยดูผลการโหวตแก้ไขมาตรา 272 (ปิดสวิตช์ส.ว.เลือกนายกฯ) ควบคู่กับมติโหวตนายกฯ ล่าสุด ว่าส.ว.คนใดเคยรับหลักการพร้อมเคียงข้างประชาชนกันบ้าง
สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย
รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก
อ่าน

รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.
ย้อนรอยความสัมพันธ์ “M16” กับพล.อ.ประวิตรและพล.อ.ประยุทธ์
อ่าน

ย้อนรอยความสัมพันธ์ “M16” กับพล.อ.ประวิตรและพล.อ.ประยุทธ์

ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็ม 16 และพล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณและพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ใช่เรื่องราวขำขัน หากเป็นโศกนาฏกรรมที่ผ่านมาแล้ว 13 ปี ยังไม่สามารถนำตัวผู้กระทำความรุนแรงจากฝ่ายรัฐมาลงโทษได้
เช็คเสียงก่อนโหวตเลือกนายกฯ ส.ส.+ส.ว. ครบ 750 คน ต้องการ 376 เสียงเพื่อนายกฯ คนที่ 30
อ่าน

เช็คเสียงก่อนโหวตเลือกนายกฯ ส.ส.+ส.ว. ครบ 750 คน ต้องการ 376 เสียงเพื่อนายกฯ คนที่ 30

หลังเลือกตั้งจนถึงช่วงก่อนเลือกนายกฯ มีส.ส. บางส่วนที่ลาออก ซึ่งส่งผลให้จำนวนเสียงที่ต้องใช้สำหรับเลือกนายกฯ เปลี่ยนไป แต่ก่อนถึงวันเลือกตั้ง ก็มีการเลื่อนบัญชีรายชื่อขึ้นมาแล้ว ทำให้ในวันเลือกนายกฯ ส.ส. ส.ว. จะครบสภา และต้องใช้เสียง 376 เสียงขึ้นไปในการเคาะเลือกนายกฯ