ถอดวงเสวนา มองไปข้างหน้าแก้ไขกฎหมายอายุความ ป้องกันเจ้าหน้าที่รัฐลอยนวลพ้นผิด
อ่าน

ถอดวงเสวนา มองไปข้างหน้าแก้ไขกฎหมายอายุความ ป้องกันเจ้าหน้าที่รัฐลอยนวลพ้นผิด

15 พฤศจิกายน 2567 ศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนา ร่วมพูดคุยปัญหาการกำหนดอายุความในคดีอาญาตามกฎหมายไทย ซึ่งยังมีช่องให้ผู้กระทำความผิด โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐที่กระทำละเมิดต่อประชาชน ใช้เงื่อนไขเรื่องอายุความยื้อเวลาเพื่อให้ตนเองลอยนวลพ้นผิดได้
เสวนา “เจรจาสันติภาพ 20 ปี ชายแดนใต้” คดีตากใบกระทบความเชื่อใจในกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

เสวนา “เจรจาสันติภาพ 20 ปี ชายแดนใต้” คดีตากใบกระทบความเชื่อใจในกระบวนการยุติธรรม

25 ต.ค.67 ประชาไทร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มธ. จัดวงเสวนาหัวข้อ “เจรจาสันติภาพ 20 ปีชายแดนใต้ หรือจะเป็นได้แค่คนคุย” เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยในประเด็นสันติภาพชายแดนใต้และคดีตากใบ
คดีตากใบ 2547 กับวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวลด้วยการหมดอายุความ 
อ่าน

คดีตากใบ 2547 กับวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวลด้วยการหมดอายุความ 

กลุ่มญาติของผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ตากใบ 2547 รวมตัวกันฟ้องศาลเพื่อเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังรอความยุติธรรมมานานกว่า 19 ปี จนล่าสุดศาลมีคำสั่งประทับรับฟ้อง และออกหมายจับจำเลยทั้ง 7 คน แต่กระบวนการเพื่อคืนความยุติธรรมอาจต้องสิ้นสุดลง หากวันที่ 25 ตุลาคม 2567 จำเลยทั้งหมดไม่มาปรากฎตัวต่อศาล 
กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้
อ่าน

กมธ.นิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภา ใส่เกียร์ว่าง ม.112 “ไม่สามารถหาข้อสรุปได้” แต่ 18 เสียงยืนยันรวม ม.112 ได้

คณะกรรมาธิการนิรโทษกรรมฯ สรุปรายงานส่งสภาผู้แทนราษฎร โดยเห็นว่าความผิดตามป.อาญา ม. 110 และ ม. 112 เป็นคดีที่มีความอ่อนไหว ไม่สามารถหาข้อสรุปเป็นมติของคณะกรรมาธิการวิสามัญได้ แต่ความเห็นแตกเป็นสามแนวทาง คือ 1. ไม่เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหว, 2. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยมีเงื่อนไข และ 3. เห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมคดีที่มีความอ่อนไหวโดยไม่มีเงื่อนไข
ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น
อ่าน

ถึงที่สุดแล้ว คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ ตำรวจให้พิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะคดีที่จำเป็น

ศาลอุทธรณ์วางบรรทัดฐานว่า พนักงานสอบสวนจะมีอำนาจสั่งให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือได้เฉพาะเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพื่อนำไปเก็บเป็นประวัติอาชญากร
พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมาย
อ่าน

เปิดพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ จับกุมคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องมีที่ปรึกษากฎหมาย

จากการรวบรวมสถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ 112 มีเด็ก และเยาวชนถูกดำเนินคดีแล้วจำนวน 18 ราย ใน 21 คดี กรณีล่าสุดคือ “หยก” เด็กนักเรียนผู้ถูกออกหมายเรียกคดี 112 ในตอนที่อายุเพียงแค่ 14 ปี ชวนดูกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีเด็กและเยาวชน กำหนดไว้อย่างไรบ้าง 
เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?
อ่าน

เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?

พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ
พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ
อ่าน

พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ

การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา พ.ร.ก. แก้ไข พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ทำให้สภาไม่มีโอกาสได้ลงมติ ซึ่งในระหว่างนี้บางมาตราของ พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ก็จะถูกอุ้มหายไปด้วย รวมถึงรัฐบาลที่จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหาก พ.ร.ก. ไม่ได้รับความเห็นชอบก็จะหมดอายุตามสภาไปแล้ว