constituent assembly
อ่าน

นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%

การเลือกตั้ง สสร. โดยประชาชนทั้งหมด และบทบาทของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่เรื่องที่ขัดแย้งกัน แต่หากยึดว่าอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นของประชาชน การออกแบบระบบเพื่อหาที่ทางให้กับคนเหล่านี้ก็ยังมีความเป็นไปได้
what is government worried about referendum
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
Double majority in Referendum
อ่าน

ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ

การแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติ พ.ศ. 2564 กำลังเป็นอีกประเด็นที่สำคัญในการทำประชามติเพื่อให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ โดยเฉพาะการแก้ไขประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล้มเหลว
People answer "Why we have to use #Conforall referendum question"
อ่าน

522 คำตอบถึงมือ ครม. แล้ว! ย้ำทำไมต้องใช้คำถามประชามติ #conforall

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา iLaw ได้นำคำตอบจำนวน 522 คำตอบ ที่รวบรวมจากคำถามว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” ส่งมอบให้กับรองนายกรัฐมนตรี ภูมิธรรม เวชยชัย ในฐานะประธาน “คณะกรรมการประชามติฯ” เมื่อวันพุธที่ 15 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดยคำตอบทั้งหมดถูกแบ่งออกได้เป็นห้ากลุ่ม ดังนี้
What Civil Societies say about New constitution Referendum
อ่าน

ทั้งฉบับหรือจำกัดเงื่อนไข สรุปความเห็นภาคประชาสังคมต่อคำถามประชามติ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา “คณะกรรมการประชามติฯ” ได้เชิญภาคประชาสังคมจำนวนมากไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งแบ่งออกได้เป็นสามกลุ่ม คือ ผู้สนับสนุนการเขียนใหม่ทั้งฉบับ ผู้สนับสนุนการห้ามแก้ไขหมวดหนึ่งและหมวดสอง และ กลุ่มอื่นๆ 
53332274472_33d8d30b21_o
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
Referendum Timeline
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา
53315818023_bee7c8112f_o
อ่าน

ชวนเขียนจดหมายถึงทำเนียบรัฐบาล #conforall

ชวนถามประชาชนผู้เป็นเจ้าของสิทธิเสียงร่วมกันเขียนข้อความฝากถึงคณะกรรมการประชามติฯ ผ่านเราว่า “ทำไมรัฐบาลจึงควรที่จะใช้คำถามของแคมเปญ #conforall ในการทำประชามติ” เพื่อนำเสียงพี่น้องประชาชนทุกคนเข้าสู่ห้องประชุมของทำเนียบรัฐบาล
How bad question pan out
อ่าน

คำถามประชามติไม่ดี ระวังได้ “รัฐธรรมนูญเก่าในขวดใหม่”

การทำประชามติครั้งแรกเพื่อถามประชาชนว่าอยากได้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนเพราะคำถามที่ไม่ดีอาจจะทำให้กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญทำได้อย่างไม่ราบรื่น หรือไม่เป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เลวร้ายที่สุด ก็อาจจะถึงขั้นแพ้ประชามติ และปิดประตูการมีรัฐธรรมนูญใหม่ไปอีกหลายปี
Timeline Civil Petition for Referendum
อ่าน

ประชาชนใช้เวลานับ วัน กกต. ใช้ วัน จับตา ครม. จะพิจารณาได้เมื่อไหร่!

ชวนดูไทม์ไลน์การทำงานของกลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ ควบคู่กับการทำงานของกกต. ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า การรวบรวมรายชื่อของประชาชนทั้งระบบออนไลน์และระบบกระดาษสามารถทำได้ในเวลาเพียงสั้นๆ