เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ  ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?
อ่าน

เปิดขั้นตอนประชาชนเข้าชื่อเสนอ ครม.ทำประชามติ ผู้มีสิทธิเข้าชื่อต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง?

เส้นทางของ “ประชาชน” ในการเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ “ประชามติ” เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นั้นไม่ได้ยุ่งยากสลับซับซ้อนจนเกินไป แต่ระหว่างทางต้องเดินอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้กำกับดูแล ก่อนถึงมือคณะรัฐมนตรีที่จะเป็นผู้พิจารณาในด่านสุดท้าย
เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล
อ่าน

เตรียมทำประชามติ 3 ครั้ง สู่รัฐธรรมนูญใหม่ หลังพรรคเพื่อไทยจัดตั้งรัฐบาล

พรรคเพื่อไทยจับมือกับพรรคภูมิใจไทยออกแถลงการณ์ร่วมกันว่า จะเร่งแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยการประชุมคณะรัฐมนตรีในวาระแรกจะมีมติให้ทำประชามติขอจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็นขั้นตอนการทำประชามติพิเศษเพิ่มเติมขึ้นมา เท่ากับว่าหากจะจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ให้สำเร็จ ต้องทำประชามติอย่างน้อย 3 ครั้ง
50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน
อ่าน

50,000 ชื่อเสนอคำถามประชามติโดยประชาชน

นี่เป็นครั้งแรกที่ประชาชนจะเข้าชื่อกันให้ครบ 50,000 รายชื่อ เพื่อเสนอคำถามในการทำประชามติต่อคณะรัฐมนตรี ไม่มีความชัดเจนว่าการลงลายมือชื่อผ่านระบบออนไลน์สามารถทำได้หรือไม่ จึงจำเป็นที่ต้องพยายามช่วยกันรวบรวมรายชื่อประชาชนให้ได้ครบโดยการลงชื่อจริงๆ ด้วยปากกาในแบบฟอร์มกระดาษก่อนเพื่อความแน่นอน 
2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”
อ่าน

2 ประชามติ 2 สภาใหม่ ! คาดการณ์ 7 ขั้นตอนที่ไม่ง่ายสู่ “รัฐธรรมนูญประชาชน”

หนทางสู่การมีรัฐธรรมนูญจากประชาชนต้องผ่านประชามติอย่างน้อย 2 ครั้ง ผ่านคูหาเลือกสว.​ และการเลือกตั้งส.ส.ร. ที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประเทศนี้ ซึ่งประเมินได้ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2-3 ปี ถ้าไม่มีเหตุขัดขวางระหว่างทาง
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน