51232828692_a25cfe81e9_o
อ่าน

สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?

วันพรุ่งนี้ (9 มิถุนายน 2564) สภาผู้แทนราษฎรมีนัดประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนด (พ.ร.ก.) ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 หรือ "ร่าง พ.ร.ก. เงินกู้ห้าแสนล้านบาท" ซึ่งถือว่าเป็นการกู้เงินรอบที่สองของรัฐบาล ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่ผ่านมารัฐบาลล้มเหลวในการใช้เงินกู้เพื่อแก้ปัญหาจากโรคโควิด-19
Chulabhorn royal academy act
อ่าน

รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.

ในยุคสภาแต่งตั้ง สนช. ได้ออกพ.ร.บ.เพื่อจัดตั้งราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ขึ้นในปี 2559 และแก้ไขโครงสร้างตำแหน่งสำคัญในปี 2560 ด้วยเสียงเอกฉันท์ทั้งสองรอบ โดยให้เป็นองค์การมหาชน ไม่ใช่ส่วนราชการ มีระบบบริหารงานอิสระ ได้รับงบประมาณจากรัฐ ก่อนจะออกประกาศให้มีบทบาทจัดการวัคซีนโควิดในปี 2564
photo_2021-04-29_19-43-36
อ่าน

โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ

ท่ามกลางสถานการณ์ที่ไวรัสโควิด-19 กำลังแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว รัฐบาลบางประเทศได้ตัดสินใจปล่อยผู้ต้องขังในเรือนจำบางส่วนเพื่อลดความแออัดในพื้นที่อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผลต่อการแพร่กระจายของไวรัส 
photo_2021-04-19_18-17-11 (2)
อ่าน

ชุมนุม 64 : บททดสอบของราษฎรยามเพื่อนถูกจองจำ

กระแสการชุมนุมในปี 2564 ดูผิวเผินเหมือนจะลดความร้อนแรงลงด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ระลอก 2 ที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม 2563 ราษฎรในฐานะผู้จัดการชุมนุมหลักพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเช่น จัดกิจกรรมให้กำลังใจผู้ถูกดำเนินคดีผ่านโปรแกรมซูม (Zoom) และจัดการปราศรัยในพื้นที่เป้าหมายแบบไม่นัดมวลชนให้มาร่วมและเผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดียและสื่อมวลชนแทน
photo_2020-10-15_05-29-25
อ่าน

ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง

25 มีนาคม 2563 พลเอกประยุทธ์ อาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายซ้ำซ้อนเพื่อควบคุมการชุมนุมก็กลับมาอีกครั้ง
A04Y7066
อ่าน

การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง

1 มกราคม- 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง   โดยวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่คือ การเรียกร้องเรื่องการปล่อยตัวนักกิจกรรมทางเมืองและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด 19 
Artboard 1 copy-80
อ่าน

“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19

ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 เรื่อยมามีกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19 ออกมาส่งเสียงเรียกร้องการเยียวยาแก้ปัญหาจากภาครัฐเป็นจำนวนมาก
Netherlands TN
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย
Marion Correctional Institution
อ่าน

สำรวจมาตรการเรือนจำแมริออน รัฐโอไฮโอ หลังพบนักโทษกว่า 70% ติด COVID-19 แล้ว

ในเรือนจำแมริออน ในเขตหนึ่งของรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ที่มีจำนวนนักโทษทั้งหมดประมาณ 2,600 คน มีนักโทษติดเชื้อ COVID-19 ไปแล้ว 1,950 ราย (21 เมษายน 2563) คิดเป็นมากกว่า 70 % ของนักโทษทั้งหมด มาดูกันว่าหลังจากนี้เขามีมาตรการจัดการอย่างไร