อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 เขียนหมวดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเป็นครั้งแรก และเขียนสิทธิหลายประการใหม่ไว้ในหน้าที่ของรัฐแทน หลายฝ่ายกังวลว่า จะเป็นการตัดสิทธิของประชาชน ด้านกรธ. มองว่า เขียนแบบนี้คุ้มครองได้มากกว่า
Budhism
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กรธ. ไม่เขียน “พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ” แต่สั่งรัฐสนับสนุนเฉพาะพุทธเถรวาท

ร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ฉบับลงประชามติ ไม่เขียนให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แต่ตัดเรื่องการเสริมสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนาออก และเขียนนวัตกรรมใหม่ให้รัฐต้องส่งเสริมและเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท และเพิ่มข้อยกเว้นเสรีภาพในการนับถือศาสนาต้อง "ไม่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของรัฐ"
IMG_0043
อ่าน

เบื้องหลังเหตุทหารกดดันถอดรูปนิทรรศการเสรีภาพ “ปล่อยปีก” ของคนรุ่นใหม่

งาน “ปล่อยปีก” กิจกรรมที่สร้างพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่กลุ่มหนึ่ง กลายเป็นกิจกรรมที่มีเรื่องราวเบื้องหลังและความทรงจำมากมาย เมื่อทหารที่ดูแลพื้นที่จับตาอย่างใกล้ชิดและแทรกแซงบู๊ทนิทรรศการ จนช่วงท้ายงานมีการขู่ว่าจะดำเนินคดีเนื่องจากกิจกรรมในพิธีปิดและการอ่านแถลงการณ์ ครั้งนี้นับเป็นครั้งที่สองแล้วที่มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมจัดโครงการ ‘คนรุ่นใหม่เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม’ โครงการที่เปิดพื้นที่
eng2
อ่าน

Locked up for five years: The life and ideals of Somyot Prueksakasemsuk

January 2016 marked more than four years since Somyot Prueksakasemsuk, social activist and former editor of Voice of Taksin magazine, lost his freedom for the publishing of two articles in the magazine which were deemed to fall within the domain of lèse majesté. (see Somyot’s case on our database here)    
Blackout for Hungary
อ่าน

ร่วมกันทำ “จอดับ” แสดงสัญญาณต้านกม.คุมสื่อของฮังการี

กลุ่ม Blackout for Hungary ชวนสื่อออนไลน์ในฮังการีและที่ต่างๆ ต้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต ด้วยเปลี่ยนหน้าจอเป็นสีดำ ในวันที่ 5 ม.ค. เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการออกกฎหมายควบคุมสื่อฉบับใหม่ของฮังการี

นายกสมาคมสื่อแนะ ยื่นพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้ศาลรธน.ตีความ

 ผลศึกษาชี้ คดีหมิ่นฯ ยุคใหม่ ถูกบังคับใช้ผ่านมาตรา 14 พ.ร.บ.คอมฯ ด้านนายกสมาคมนักข่าวติง ปิดสื่อทั้งหมดไม่ได้ เสนอให้ผู้ตรวจการรัฐสภาและกรรมการสิทธิฯ ส่งพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ให้ศาลรธน.ตีความ