48080128838_8e3ffbdc52_c
อ่าน

รายงานการตั้งข้อหาทางการเมืองหลังรัฐประหาร 2557

สามารถคลิกที่ชื่อ&…
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ "ประธานศาลรัฐธรรมนูญ" วินิจฉัยเป็นคุณกับคสช.
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ “ประธานศาลรัฐธรรมนูญ” วินิจฉัยเป็นคุณกับ คสช.

ท่ามกลางกระแสความเห็นที่แตกต่างในข้อเท็จจริงของคดียุบพรรคอนาคตใหม่ จากกรณีกู้เงินธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ว่าศาลสามารถตัดสินอย่างไรได้บ้าง อยากชวนทุกคนสำรวจที่มาและความคิดเห็นของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคนในการวินิจฉัยคดีทางการเมือง เพื่อให้เห็นทิศทางของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
Panuwat
อ่าน

คุยกับผู้ต้องหาประชามติ: เหน่อ ภานุวัฒน์ กับคืนวันที่ซ้ำร้าย

พูดคุยกับ เหน่อ-ภานุวัฒน์ ทรงสวัสดิ์ชัย นักศึกษาผู้ถูกดำเนินคดี พ.ร.บ.ประชามติฯ ท่ามกลางบรรยากาศปิดกั้นทางการเมือง
otto2
อ่าน

ในเถ้าอารมณ์ ของ “อ๊อตโต้” ผู้สื่อข่าวพ่วงผู้ต้องหาคดีแจกสติ๊กเกอร์โหวตโน

พูดคุยกับ อ๊อตโต้-ทวีศักดิ์ เกิดโภคา นักข่าวประชาไทที่ถูกดำเนินคดี พ.ร.บ.ประชามติฯ เพราะไปทำข่าวรณรงค์โหวตโน
13615214_1722486337990805_171198849679857284_n
อ่าน

รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)

พ.ร.บ.ประชามติฯ เป็นอีกหนึ่งกฎหมายที่สร้างปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคมไทยขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา และน่าเสียดายยิ่งไปกว่านั้นคือ เราอาจไม่มีบทลงโทษเพื่อเป็นบทเรียนให้กับผู้ออกกฎหมายและผู้บังคับใช้ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหา
อ่าน

สองปีแล้วสินะ: ‘ผลประโยชน์ของชาติ’ ผูกขาดอยู่ที่ใคร?

สองปีมานี้ รัฐบาลของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ใช้คำว่า “เพื่อผลประโยชน์ของชาติ” บ้านเมืองไปแล้วกี่มากน้อย อยากชวนผู้อ่านทำความรู้จักกับต้นตอวาทกรรมผลประโยชน์ของชาติ ที่ฝ่ายรัฐนำมาอ้างบ่อยในระยะหลังนี้
3 fingers
อ่าน

#ส่องประชามติ ว่าด้วยการปิดกั้นและดำเนินคดีผู้รณรงค์ Vote NO!!

บรรยากาศการลงประชามติครั้งที่สองของไทยเป็นไปอย่างน่ากังวลเพราะการแสดงความเห็นต่างหรือวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญเป็นไปอย่างลำบาก มีรายงานระบุว่า มีผู้ออกมาแสดงความเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกตั้งข้อหาอย่างน้อย 95 คน ทำให้มีเครื่องหมายคำถามว่า ประชามติครั้งนี้ "Free" และ "Fair" จริงหรือเปล่า
military project
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนื้อหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่ พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของ กรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ