50273740932_a7f3bd69db_o
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง
26-2557
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
WH
อ่าน

ไวรัสอู่ฮั่น อีกเหตุผลที่เราต้องรักษาเสรีภาพ

ไม่ใช่ครั้งแรกที่จีนแสดงท่าทีปกปิดข้อเท็จจริงหรือจำกัดเสรีภาพการแสดงออกเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรค แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในครั้งการแพร่ระบาดของโรคซาร์สเมื่อปี 2545 การแพร่ระบาดของไวรัสในระบบทางเดินหายใจทั้งสองครั้งกลายเป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่า ทำไมเราต้องปกป้องเสรีภาพในทุกด้านของมนุษย์ทุกคน
48379466_10161371032110551_7485281519003500544_n
อ่าน

เปิดข้อมูลครึ่งแรกปี 2561 เฟซบุ๊กบล็อคเนื้อหาในไทย 285 เรื่อง เป็นอันดับ 12 ของโลก

ในรายงานเฟซบุ๊กได้แสดงจำนวนเนื้อหาระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2561 เฟซบุ๊กปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาจากประเทศไทย 285 เรื่อง
facebook-2661207_960_720
อ่าน

เปิดข้อมูลเฟซบุ๊ก ปี 2560 บล็อคเนื้อหาในไทย 365 เรื่อง

ในปี 2560 เฟซบุ๊กปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาไป 42,330 เรื่อง เป็นเนื้อหาจากประเทศไทย 365 เรื่อง ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2560 มีการจำกัดการเข้าถึงเนื้อหาทั่วโลกจำนวน 28,036 เรื่อง โดยประเทศที่มีการจำกัดเนื้อหามากที่สุดคือ เม็กซิโก ที่ 20,527 เรื่อง รองลงมา คือ เยอรมนี ที่ 1,297 เรื่อง และอินเดียที่ 1,228 เรื่อง ไทยอยู่ที่อันดับที่ 11 จากทั้งหมด 29 ประเทศ ที่ 226 เรื่อง โดยสำหรับเนื้อหาที่ถูกจำกัดในประเทศไทยเป็นเนื้อหาที่เข้าข่ายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งการปิดกั้นเป็นผลมาจากคำร้องจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และกองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.)
001
อ่าน

วิธีการทางเทคนิคในการปิดกั้นสื่อออนไลน์หรือ “บล็อกเว็บ”

ดูเหมือนนิยามที่ว่า อินเทอร์เน็ตคือโลกไร้พรมแดนคงจะไม่สะท้อนความจริงนัก อย่างน้อยก็ในประเทศไทยที่ปัจจุบันยังคงมีการปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาบางอย่างบนเว็บไซต์อยู่โดยตลอดภายใต้เหตุผลว่า “มีเนื้อหาและข้อมูลไม่เหมาะสม”