referendum-research comittee announcement
อ่าน

กรรมการประชามติสรุป ถามประชามติเขียนรธน. ใหม่ไม่แตะหมวด 1 หมวด 2 จ่อเสนอครม. ภายในไตรมาสแรกปี 67

25 ธันวาคม 2566 คณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ ที่มีภูมิธรรม เวชยชัย เป็นประธาน ได้ข้อสรุปการทำประชามติครั้งแรกนำสู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ คำถามประชามติคำถามเดียว เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ไม่แตะ หมวด 1 ทั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ เตรียมเสนอรายงานต่อ ครม. ภายในไตรมาสแรกของปี 2567
How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
Nigorn Jumnong
อ่าน

25 ธันวาฯ รู้ผล คกก. ประชามติเตรียมแถลงแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่

10 ธันวาคม 2566 นิกร จำนง โฆษกคณะกรรมการเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางในการทำประชามติ เพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นที่แตกต่างในเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 และประธานคณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 เข้าร่วมงานเสวนาที่จัดขึ้นบริเวณ “ลานประชาชน” หน้ารัฐสภา อธิบายถึงความคืบหน้าในการศึกษาแนวทางการทำประชามติ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่นิกรทำมาตลอด คือ การเดินสายชี้แจงและพูดคุยกับคนต่างๆ เกี่ยวกับการทำงานของคณะกรรมการชุดนี้
53386689702_1f6c9f9378_o
อ่าน

เข้าใจความหมายของคำถามประชาติ 3 แบบ

ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน
What is goon new constitution
อ่าน

วรรณภา ติระสังขะ: รัฐธรรมนูญที่ต้องดีบรรจุฉันทามติร่วมของสังคม

วรรณภา ติระสังขะ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในผู้ร่วมวงเสวนาได้ตั้งข้อสังเกตสำคัญของพัฒนาการรัฐธรรมนูญไทยว่า ที่ผ่านมาที่มาของผู้ร่างรัฐธรรมนูญมีผลสัมพันธ์กันกับจุดประสงค์ของเนื้อหาในรัฐธรรมนูญเสมอ ซึ่งในอดีตรัฐธรรมนูญยุคแรกต่างพยายามรักษาหลักการ “อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของราษฎรทั้งหลาย” เอาไว้ก่อนถูกสังคมไทยทำหล่นหายไปในกาลต่อมา
Screenshot 2566-12-10 at 19
อ่าน

รัฐธรรมนูญใหม่ต้องเปิดทางการมีส่วนร่วม ถ่วงดุลอำนาจและตัดวงจรรัฐประหาร

เนื่องในวันรัฐธรรมนูญ รัฐสภาจัดกิจกรรมที่ลานประชาชนตลอดทั้งวันโดยระหว่าง 18.00-19.30 น. มีงานเสวนาหัวข้อ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หน้าตาเป็นอย่างไร มีความเห็นเช่น การถ่วงดุลอำนาจและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้มากขึ้น
what is government worried about referendum
อ่าน

สำรวจความคิดรัฐบาล กังวลอะไรบ้างกับการทำประชามติ!

หลังรัฐบาลแต่งตั้ง "คณะกรรมการประชามติฯ" ขึ้นมาเพื่อทำให้การทำประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ดำเนินไปได้อย่างลุล่วง การให้สัมภาษณ์สื่อหรือการแถลงข่าวจำนวนมากกำลังบ่งชี้ว่า รัฐบาลมีความกังวลใจในหลายปัญหาระหว่างการจัดทำคำถามประชามติ แต่ความกังวงนั้นมีสิ่งใดบ้าง สามารถอ่านได้ที่นี่!
Double majority in Referendum
อ่าน

ปัญหา “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” ใน พ.ร.บ.ประชามติ

การแก้ไข พ.ร.บ.ประชามติ พ.ศ. 2564 กำลังเป็นอีกประเด็นที่สำคัญในการทำประชามติเพื่อให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ โดยเฉพาะการแก้ไขประเด็น “เสียงเกินกึ่งหนึ่งสองชั้น” (Double majority) ที่อาจเป็นเงื่อนไขในการทำประชามติไม่ว่าจะเรื่องใด ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตล้มเหลว
53332274472_33d8d30b21_o
อ่าน

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญให้ความเห็นแนวทางประชามติสู่รธน.ใหม่ ยันคำถามต้องเปิดกว้างและเลือกตั้งสสร. 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) และเครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (CALL) เข้าแลกเปลี่ยนข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 
Referendum Timeline
อ่าน

“ก่อนจะถึงประชามติรัฐธรรมนูญ” รวมเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการเสนอประชามติรัฐธรรมนูญหลังรัฐบาลเพื่อไทย

ก่อนจะถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ชวนทบทวนความเคลื่อนไหวสำคัญของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญ นับตั้งแต่หลังเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นมา