อ่าน

Q&A ถาม-ตอบข้อสงสัย อยากลงชื่อร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ต้องทำยังไง? มีขั้นตอนใดบ้าง?

ในช่วงเทศกาลแห่งความรักปีนี้ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 องค์กรภาคประชาสังคมรวมถึงนักกิจกรรมหลายกลุ่มในนาม “เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน” เดิน Kick off แคมเปญ #นิรโทษกรรมประชาชน พร้อมเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน นิรโทษกรรมให้ “ทุกข้อหา” ที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น คดีตามประกาศ/คำสั่งคสช. คดีพลเรือนในศาลทหาร คดีมาตรา 112 คดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือคดีพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อให้สภาพิจารณา สำหรับผู้ที่สนใจจะลงชื่อเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนให้ถึงสภา แล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงชื่อ เราได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อยมาไว้แล้ว ดูแล้วสามารถไปลงชื่อได้เลย
CSO will start campaign for new three Gender's Law proposal soon.
อ่าน

ผลักดันความเท่าเทียมทางเพศให้ก้าวหน้า ภาคประชาชนเตรียมเข้าชื่อเสนอสามร่างกฎหมายเข้าสภาชุดนี้

20 กันยายน 2566 “ภาคีกฎหมายภาคประชาชน 3 ฉบับ เพื่อความเป็นธรรมทางเพศ” แถลงข่าวเพื่อเปิดตัวการนำเสนอร่างกฎหมายที่ภาคประชาชนจะเข้าชื่อเสนอ 3 ฉบับ คือ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ และร่างพ.ร.บ.ยกเลิกพ.ร.บ.ปราบปรามการค้าประเวณี
ThaID Ditital ID
อ่าน

รู้จักแอป ThaID ยืนยันตัวตนเข้าเว็บหน่วยงานรัฐด้วยมือถือเครื่องเดียว

แอป ThaID สิ่งยืนยันตัวตนแบบอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากจะสามารถใช้แสดงบัตรประชาชน-ทะเบียนบ้าน ยังสามารถใช้งานเพื่อยืนยันตัวตนบนเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานรัฐ ได้อีกด้วย
Thaisangthai Constitutional Amendment
อ่าน

ไทยสร้างไทยล่ารายชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง สสร. ทำรัฐธรรมนูญใหม่ ห้ามแตะหมวด 1 หมวด 2

พรรคไทยสร้างไทย ทำร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนประชาชน 50,000 คน เข้าชื่อเสนอให้รัฐสภาพิจารณาต่อไป โดยร่างของไทยสร้างไทยต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้การพิจารณาในวาระที่หนึ่งและวาระที่สาม ต้องใช้เสียงเห็นชอบไม่น้อยกว่า "3 ใน 5" ของจำนวน ส.ส. และ ส.ว. และต้องการเพิ่มหมวดการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยมีเงื่อนไขว่า สสร ห้ามแก้ไขหมวดที่ 1 และ 2
e-initiative
อ่าน

เปิดแล้ว! ระบบเข้าชื่อเสนอกฎหมายของสภา เช็ค 10 ขั้นตอนเริ่มลงชื่อได้เลย

พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ให้เข้าชื่อเสนอกฎหมายทำทางออนไลน์ได้ มี 2 วิธี 1) เข้าชื่อทางเว็บผู้เชิญชวน 2) เข้าชื่อทางระบบเว็บสภาได้ ผู้เชิญชวนขอให้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรให้อำนวยความสะดวกได้ ประหยัดต้นทุนผู้เชิญชวนไม่ต้องทำเว็บเอง
Civil Society Statement
อ่าน

สภาไม่ให้ประชาชนมีสิทธิเข้าชื่อยกเลิกโทษผู้ใช้ยา ชี้ขัดความมั่นคง เครือข่ายประชาชนแถลงค้าน

เครือข่ายคนทำงานด้านยาเสพติด แถลงตอบโต้กรณีประธานรัฐสภาวินิจฉัยว่า ร่างพ.ร.บ.บำบัดฟื้นฟูคุ้มครองดูแล และพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ใช้ยาเสพติด ที่ต้องการรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอเป็นร่างที่กระทบต่อความมั่นคง โดยยืนยันเป็นการเสนอร่างเพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชน และให้การเสนอร่างกฎหมายเป็นสิทธิ การพิจารณาเป็นอำนาจของสภา  
petition for Disaster Prevention and Mitigation bill
อ่าน

ร่างแก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันบรรเทาสาธารณภัยฯ ฉบับประชาชน ยกระดับท้องถิ่นบรรเทาปัญหาสาธารณภัย

มูลนิธิชุมชนไทยริเริ่มรวบรวมรายชื่อประชาชนให้เกิน 10,000 ชื่อ เพื่อเสนอร่างแก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันบรรเทาสาธารณภัยฯ ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเสนอแก้พ.ร.บ.ป้องกันบรรเทาสาธารณภัยฯ บางประเด็น เช่น ยกระดับท้องถิ่น อนุมัติงบประมาณท้องถิ่นจัดการสาธารณภัยได้ไม่เกินครั้งละหนึ่งล้าน
initiative law by bad student
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หลักประกันความปลอดภัยให้กับเด็กในโรงเรียน

กลุ่มนักเรียนเลวได้จัดทำร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียนฯ เพื่อให้ประชาชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกันเข้าชื่อ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นสามหมวด หมวดแรก สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หมวดสอง สภาพแวดล้อมและสวัสดิภาพ หมวดสาม การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ธัญชนก คชพัชรินทร์ หรือแบม ตัวแทนจากกลุ่มนักเรียนเลวกล่าวว่า  “เราอยากสร้างกฎหมายที่ให้เด็กเป็นประธานในประโยค เพื่อบอกว่าเด็กมีสิทธิตรงนี้ สังคมต้องจัดหาให้เขา เราคาดหวังให้คนรับรู้ถึงสิทธิที่ตัวเองมีมากขึ้นและสามารถใช้กฎหมายนี้เพื่อยืนยันสิทธิของตัวเองได้”
Law initiative handbook
อ่าน

คู่มือเข้าชื่อเสนอกฎหมายสำหรับประชาชน

การเสนอเข้าชื่อเสนอกฎหมายไม่ใช่เรื่องยุ่งยากอีกต่อไปตั้งแต่ พ.ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ.2564 บังคับใช้ ไอลอว์จึงอยากจะแบ่งปันวิธีปฏิบัติหรือเรื่องเล็กๆน้อยๆ ที่พวกเราได้ประสบพบเจอมาตลอดกระบวนการ ให้คนที่กำลังอยากจะใช้สิทธิรวบรวมรายชื่อเพื่อเสนอกฎหมายประหยัดแรงและเวลาลงได้บ้าง  
51293845793_7e55a24b86_o
อ่าน

กฎหมายคุมเหล้าฉบับประชาชน ลดอำนาจเจ้าหน้าที่ เพิ่มโอกาสธุรกิจรายย่อย

พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจากผู้ประกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย เนื่องจากกฎเกณฑ์ที่ออกมาสร้างภาระให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภค รวมถึงการให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตีความตามดุลพินิจซึ่งอาจนำไปสู่การบังคับใช้ที่มีขอบเขตกว้างและไม่ชัดเจน จนนำไปสู่การเสนอร่างกฎหมายโดยภาคประชาชน