เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม
อ่าน

เช็คชื่อ สว. ลงมติเลือก นายกฯ ทั้งสองครั้ง ใครเปลี่ยนใจ ใครเหมือนเดิม

การประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งที่สามเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 จบลงด้วยชัยชนะของ เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย ด้วยมติเห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165 เสียง และงดออกเสียง 81 เสียง จากทั้งรัฐสภา ทำให้ประเทศไทยเตรียมมีนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 หลังการเลือกตั้งมาแล้วกว่า 100 วัน   อย่างไรก็ตาม การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคก้าวไกล มีสาเหตุมาจากการที่สมาชิกวุฒิสภา สว. “งดออกเสียง” ภายใต้ข้ออ้างว่าเป็นการ “ปิดสวิตช์ตนเอง” มากถึง 159 เสียง ขณะที่ในการลงมติครั้งนี้มี สว. งดออกเสียงเพียง 68 เสียงเท่านั้น   เท่ากับว่า มี สว. จำนวนมากที่เปลี่ยนใจ หันมาโหวตเลือกเศรษฐาเป็นนายกรัฐมนตรีมากกว่าเลือกพิธา  
เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
ตรวจการบ้าน 1 เดือนประธานสภา ส่องผลงานเด็ด ทำอะไรไปบ้าง?
อ่าน

ตรวจการบ้าน 1 เดือนประธานสภา ส่องผลงานเด็ด ทำอะไรไปบ้าง?

สิงหาคม 66 ครบรอบหนึ่งเดือนประธานสภา ประธานรัฐสภานัดประชุมร่วมรัฐสภาไปแล้วสี่ครั้ง สั่งงดประชุมไปหนึ่งครั้ง สามครั้งที่เหลือ ก็เกิดเหตุการณ์ที่ “ชวนสับสน” ทั้งการลงมติตีความว่าการเสนอชื่อนายกฯ ซ้ำขัดต่อข้อบังคับการประชุมรัฐสภา ทั้งประธานรัฐสภาชิงปิดประชุมหนีทั้งที่การประชุมเพิ่งผ่านไปได้สองชั่วโมง
เพราะทำ “ผิดซ้ำผิดซ้อน” จึงเลือกนายกฯ ไม่ได้สักที
อ่าน

เพราะทำ “ผิดซ้ำผิดซ้อน” จึงเลือกนายกฯ ไม่ได้สักที

หลังผ่านเลือกตั้งมาสามเดือนศาลรัฐธรรมนูญ กำลังกลายเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ชะลอให้การตั้งรัฐบาลเกิดขึ้นไม่ได้เสียที เกิดเหตุการณ์ที่มีผู้ใช้อำนาจ "ผิด" หลักการของกฎหมาย เมื่อผิดไปแล้วหนึ่งครั้ง ก็ทำให้กระบวนการต่อๆ มามีเหตุต้องอ้างอิงเพื่อยันการใช้อำนาจที่ผิดทำให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นไปเรื่อยๆ
เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!
อ่าน

เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!

รัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง  “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด
เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย
รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก
อ่าน

รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.