กลไกพิเศษ UN อีกหนึ่งช่องทางส่งเรื่องสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชน
อ่าน

กลไกพิเศษ UN อีกหนึ่งช่องทางส่งเรื่องสถานการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชน

เสียงจากคนทำงาน-นักกิจกรรมที่เคยใช้กลไกพิเศษ UN ร่วมพูดคุยถึงกลไกดังกล่าว ยังมีประโยชน์ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยหรือไม่
กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?
อ่าน

กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?

กลไกสากลจะยังคงมีประโยชน์ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยหรือไม่ หรือคนไทยจะเข้าถึงและใช้ประโยชน์กลไกเหล่านี้ได้อย่างไร ชวนร่วมพูดคุยแสดงความคิดเห็น และร่วมกิจกรรมเสวนาหัวข้อ กลไกสหประชาชาติ เป็นช่องทางสู่ความยุติธรรมได้หรือไม่?
“การฟ้องคดีต่อศาลเป็นหนทางเดียวที่มี” ผู้เชี่ยวชาญ UN ให้ความเห็นกรณีสปายแวร์เพกาซัส 
อ่าน

“การฟ้องคดีต่อศาลเป็นหนทางเดียวที่มี” ผู้เชี่ยวชาญ UN ให้ความเห็นกรณีสปายแวร์เพกาซัส 

เิดหนังสือของผู้รายงานพิเศษ UN ส่งถึงศาลสหรัฐ แสดงความเห็นกรณีการใช้เพกาซัสว่า การเยียวยาที่เป็นผลมาจากการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวเป็นสิ่งที่จำเป็น บริษัท NSO ผู้ผลิตสปายแวร์ต้องรับผิด
ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112
อ่าน

ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112

อ่านความเห็นและท่าทีของข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติและผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพการแสดงออกต่อกรณีการยุบพรรคก้าวไกล
ยุบพรรค ก้าวไกล
อ่าน

ไทยตอบ UN ยื่นยุบก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำ ม.112 มีโทษแรงเหมาะสมแล้ว

รัฐบาลไทยตอบกลับข้อกังวลสหประชาชาติ ยืนยันการยื่นยุบพรรคก้าวไกลเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ย้ำมาตรา 112 มีโทษรุนแรงเหมาะสมแล้ว
รู้ไหม UN เคยเตือนรัฐบาลไทยเรื่องอะไรบ้าง? ชวนสำรวจเว็บรวมเอกสารสื่อสาร UN-ไทย 
อ่าน

รู้ไหม UN เคยเตือนรัฐบาลไทยเรื่องอะไรบ้าง? ชวนสำรวจเว็บรวมเอกสารสื่อสาร UN-ไทย 

ทุกคนสามารถติดตามอ่านการสื่อสารจากสหประชาชาติที่ส่งมายังรัฐบาลไทย และที่ไทยตอบกลับเกี่ยวกับปัญหาสิทธิมนุษยชนได้เอง
ทำอย่างไรหากอยากบอก UN ว่าไทยละเมิดสิทธิมนุษยชน? ชี้ช่องส่งเสียงถึงนานาชาติ
อ่าน

ทำอย่างไรหากอยากบอก UN ว่าไทยละเมิดสิทธิมนุษยชน? ชี้ช่องส่งเสียงถึงนานาชาติ

เมื่อพบเห็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน การส่งเสียงเรียกร้องลอยๆ ถึงนานาชาติอาจจะไม่เกิดผล สหประชาชาติมีกลไกที่เปิดรับเรื่องร้องเรียนอย่างเป็นทางการแล้วสามช่องทางเท่านั้น
วิทิต มันตาภรณ์ เรียกร้องปล่อยตัว-ถอนคดีผู้ชุมนุมโดยสงบ ตำแหน่งที่ได้มาโดยไม่ชอบให้ลาออก
อ่าน

วิทิต มันตาภรณ์ เรียกร้องปล่อยตัว-ถอนคดีผู้ชุมนุมโดยสงบ ตำแหน่งที่ได้มาโดยไม่ชอบให้ลาออก

วิทิต มันตาภรณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ พูดถึงเรื่องดุลยภาพในประเด็นสิทธิมนุษยชน โดยนำเสนอสามหัวข้อหลักเพื่อเป็นแนวทางสิทธิมนุษยชนที่ทุกฝ่ายใฝ่หา แม้แต่ละฝ่ายจะให้ความหมายแตกต่างกันแต่เรายังสามารถหาจุดสมดุลระหว่างกันได้
“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม
อ่าน

“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม

ชวนดูหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการชุมนุม และหลักปฏิบัติหากเจ้าหน้าที่จะสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมของ "คณะราษฎร63" เมื่อช่วงค่ำวันที่ 16 ต.ค.ที่ใต้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม
#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว