กสทช. หวั่นหากยกเลิกคำสั่ง ม.44 โดนสอบวินัยย้อนหลัง อัยการกังวลกระทบสิทธิประชาชนฟ้องรัฐ
อ่าน

กสทช. หวั่นหากยกเลิกคำสั่ง ม.44 โดนสอบวินัยย้อนหลัง อัยการกังวลกระทบสิทธิประชาชนฟ้องรัฐ

ในการประชุมกมธ. พิจารณาร่างพ.ร.บ.ยกเลิกประกาศคำสั่งของคสช. ฝ่ายกฎหมายของกสทช. กังวลว่า หากยกเลิกการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ จะทำให้คนที่สั่งปิดสื่อโดนดำเนินการทางวินัยส่วนตัว
ไร้เสียงค้าน! สภารับหลักการร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชนและหมดความจำเป็น
อ่าน

ไร้เสียงค้าน! สภารับหลักการร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชนและหมดความจำเป็น

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “รับหลักการ” ร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชน-หมดความจำเป็น 5 ฉบับ
ครม. – สส. เห็นพ้อง เสนอยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนหรือหมดความจำเป็น
อ่าน

ครม. – สส. เห็นพ้อง เสนอยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนหรือหมดความจำเป็น

ครม. สส. พรรคภูมิใจไทย และ สส. พรรคก้าวไกล เสนอร่ากฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่หมดความจำเป็นไปแล้ว ขัดสิทธิมนุษยชน
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
เปิดข้อเสนอหยุดวงจรรัฐประหาร เขียนกลไกห้ามล้มล้างระบอบประชาธิปไตยในรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายยกเลิกประกาศคำสั่งคณะรัฐประหาร
อ่าน

เปิดข้อเสนอหยุดวงจรรัฐประหาร เขียนกลไกห้ามล้มล้างระบอบประชาธิปไตยในรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายยกเลิกประกาศคำสั่งคณะรัฐประหาร

9 ตุลาคม 2566 ศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  จัดการสัมมนาวิชาการในหัวข้อ การทำให้รัฐประหารหมดไป ด้วยมาตรการทางกฎหมาย โดยมีผศ.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล นำเสนอบทความวิเคราะห์ลักษณะของการรัฐประหาร และนำเสนอข้อเสนอเพื่อหยุดวงจรการรัฐประหาร
มติครม. ยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ได้แต่ไม่ทั้งหมด บางฉบับต้องให้สภายกเลิก
อ่าน

มติครม. ยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ได้แต่ไม่ทั้งหมด บางฉบับต้องให้สภายกเลิก

การยกเลิกประกาศ-คำสั่งของคสช. ที่มีลักษณะเป็นการใช้อำนาจทางบริหาร สามารถยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมให้กระทำโดยคำสั่งนายกฯ หรือมติ ครม. แต่ประกาศหรือคำสั่งบางฉบับ อาจมีสถานะเป็น “กฎหมาย” ซึ่งการจะยกเลิกได้จะต้องทำผ่านกระบวนการรัฐสภา
สภาปัดตกสองร่างพ.ร.บ. #ปลดอาวุธคสช ไม่รับข้อเสนอรื้อมรดกจากคณะรัฐประหาร
อ่าน

สภาปัดตกสองร่างพ.ร.บ. #ปลดอาวุธคสช ไม่รับข้อเสนอรื้อมรดกจากคณะรัฐประหาร

15 ธันวาคม 2564 สภาผู้แทนราษฎร มีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ. #ปลดอาวุธคสช. จากภาคประชาชน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 162 เสียง ไม่เห็นด้วย 234 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 
เปิดคำชี้แจงตัวแทนผู้เสนอร่างกฎหมาย #ปลดอาวุธคสช
อ่าน

เปิดคำชี้แจงตัวแทนผู้เสนอร่างกฎหมาย #ปลดอาวุธคสช

8 ธันวาคม 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ. #ปลดอาวุธคสช ซึ่งเสนอโดยประชาชนเข้าชื่อกัน 13,409 คน เพื่อให้ยกเลิกประกาศและคำสั่งของ คสช. รวม 35 ฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย
“รื้อมรดก คสช.”  ยกเลิกประกาศ/คำสั่ง ตกยุคที่ละเมิดสิทธิ ข้อเสนอประชาชนเข้าสภา 1 ธ.ค. 64
อ่าน

“รื้อมรดก คสช.” ยกเลิกประกาศ/คำสั่ง ตกยุคที่ละเมิดสิทธิ ข้อเสนอประชาชนเข้าสภา 1 ธ.ค. 64

สภาเตรียมพิจารณาร่าง "ปลดอาวุธ คสช." เพื่อพิจารณายกเลิกประกาศและคำสั่ง ที่ตกค้างเป็นมรดกมาจากยุค คสช. ให้อำนาจแก่รัฐบาลทหารโดยไร้การตรวจสอบ เช่น อำนาจทหารขังคนได้ 7 วัน, การยกเว้นผังมือให้อีอีซี เป็นความพยายามล้างผลพวงรัฐประหารครั้งแรก และเป็นการพิจารณาร่างกฎหมายที่ประชาชนเข้าชื่อเสนอ
10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ

ถึงปี 2563 แล้วก็ยังมีคนที่ต้องการรักษาอำนาจให้ คสช.​ อ้างเหตุผลว่า รัฐธรรมนูญ 2560 "ผ่านประชามติมาแล้ว" และยืนยันที่จะไม่แก้ยอมให้แก้ไข ลองดูกันว่า ข้ออ้างนี้ไม่ถูกต้องอย่างไร