นักโทษคดีการเมือง อย่างน้อย 51 คนยังอยู่ในเรือนจำ ก่อนวาระนิรโทษกรรมเข้าสภา
อ่าน

นักโทษคดีการเมือง อย่างน้อย 51 คนยังอยู่ในเรือนจำ ก่อนวาระนิรโทษกรรมเข้าสภา

8 กรกฎาคม 2568 วันก่อนที่สภาจะพิจารณาร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชน และร่างจากพรรคการเมืองอื่นๆ ยังคงมีผู้ถูกคุมขังในเรือนจำเนื่องจากคดีที่เกี่ยวข้องกับการแสดงออกทางการเมือง อย่างน้อย 51 คน แบ่งเป็นผู้ต้องขังในคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 อย่างน้อย 32 คน และผู้ต้องขังในคดีอื่นๆ ได้แก่ คดีที่เกี่ยวเนื่องกับวัตถุระเบิด คดีวางเพลิง คดีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ คดีละเมิดอำนาจศาล อย่างน้อย 19 คน
สถานการณ์นักโทษการเมืองคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 30 คนก่อนวาระนิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

สถานการณ์นักโทษการเมืองคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 30 คนก่อนวาระนิรโทษกรรมประชาชน

จนถึงวันที่ 7 เมษายน 2568 มีผู้ถูกคุมขังในคดีตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 อย่างน้อย 30ราย แบ่งเป็นคดีถึงที่สุดแล้ว สิบคน คดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างอุทธรณ์) 11 คน คดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างฎีกา) เจ็ดคนและคดียังไม่ถึงที่สุด (ขังระหว่างพิจารณาคดีในศาลชั้นต้น) สองคน 
ก้อง อุกฤษฏ์ : หนึ่งวันในเรือนจำอันยาวนาน ยังรออิสรภาพทุกวินาที
อ่าน

ก้อง อุกฤษฏ์ : หนึ่งวันในเรือนจำอันยาวนาน ยังรออิสรภาพทุกวินาที

ก้อง-อุกฤษฎ์ถูกคุมขังระหว่างการฎีกามากว่าหนึ่งปีแล้ว เขายังมีหวังจะได้สอบเพื่อจบการศึกษาเป็นบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ กลางเดือนมีนาคม 2568 เขาถูกราชทัณฑ์บังคับย้ายไปอยู่เรือนจำกลางบางขวางโดยไม่มีการแจ้งล่วงหน้า
สถิตินักโทษการเมือง “อดอาหาร” ปี ’64-‘68 รวม 19 คนเสียชีวิต 1 คน แนวโน้มอดอาหารยาวนานขึ้น
อ่าน

สถิตินักโทษการเมือง “อดอาหาร” ปี ’64-‘68 รวม 19 คนเสียชีวิต 1 คน แนวโน้มอดอาหารยาวนานขึ้น

ระหว่างปี 2564-2568 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกปฏิเสธสิทธิการประกันตัวประกาศอดอาหารเพื่อเรียกร้องสิทธิการประกันตัวและการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมอย่างน้อย 19 คน ในจำนวนนี้เสียชีวิต 1 คน
กมธ.กฎหมายฯรับเรื่อง #ก้องต้องได้สอบ เป็นวาระเร่งด่วน นัดสอบข้อเท็จจริงกับม.ราม วันที่ 5 ก.พ. นี้
อ่าน

กมธ.กฎหมายฯรับเรื่อง #ก้องต้องได้สอบ เป็นวาระเร่งด่วน นัดสอบข้อเท็จจริงกับม.ราม วันที่ 5 ก.พ. นี้

29 มกราคม 2568 เวล…
สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”
อ่าน

สุดสัปดาห์สุดท้ายของนิทรรศการ “ซ่อน(ไม่)หา(ย) – Presumption of Innocence”

ชวนทุกคนมาร่วมพูดคุยเพื่อส่งเสียงให้เรื่องราวที่ถูก “ซ่อน” ไม่ “หาย” ไปจากสังคมผ่านสองวงพูดคุยคือ เส้นทางนิรโทษกรรมทางการเมืองและคดีมาตรา 112 และชีวิตคนถูก “ซ่อน” และการต่อสู้เพื่อไม่ “หาย” ไปจากสังคม
Days in prison

Days in prison

นานแค่ไหนในห้องขัง สรุปข้อมูลผู้ต้องขังคดีมาตรา 112 ทั้งที่กำลังรับโทษตามคำพิพากษาถึงที่สุดและยังต่อสู้คดีอยู่ และจำนวนวันที่ถูกคุมขังอย่างต่อเนื่อง อัพเดทข้อมูลรายวัน
เปิดตัว “Freedom bridge” สะพานมนุษยธรรมเชื่อมโลกภายนอกและผู้ต้องขังทางการเมือง
อ่าน

เปิดตัว “Freedom bridge” สะพานมนุษยธรรมเชื่อมโลกภายนอกและผู้ต้องขังทางการเมือง

โครงการ “Freedom bridge” เป็นโครงการที่ทำงานเพื่อช่วยเหลือนักโทษทางการเมืองและครอบครัวของพวกเขาโดยมีเป้าหมายระยะยาวเพื่อให้มีการปล่อยตัวนักโทษทางการเมืองทั้งหมด
เปิด 10 อันดับ คดีมาตรา 112 ที่ลงโทษ “หนัก” ที่สุด
อ่าน

เปิด 10 อันดับ คดีมาตรา 112 ที่ลงโทษ “หนัก” ที่สุด

ตลอดช่วงเวลาของความขัดแย้งทางการเมือง มาตรา 112 ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีในปริมาณมากอย่างมีนัยยะสำคัญ และในช่วงเวลาที่มีนโยบายการบังคับใช้กฎหมายอย่างรุนแรง ก็เป็นผลให้มีประชาชนที่ถูกพิพากษาว่า มีความผิดในข้อหามาตรา 112 ถูกตัดสินจำโทษมากที่สุด ดังนี้
ศาลอนุญาตฝากขังตะวัน – แฟรงค์ต่อ 12 วัน อ้างตำรวจรอผลตรวจกล้องหน้ารถในจุดเกิดเหตุ
อ่าน

ศาลอนุญาตฝากขังตะวัน – แฟรงค์ต่อ 12 วัน อ้างตำรวจรอผลตรวจกล้องหน้ารถในจุดเกิดเหตุ

วันที่ 20 มีนาคม 2567 เวลา 9.00 น. ศาลอาญา รัชดาฯ นัดไต่สวนคำร้องคัดค้านการฝากขังทานตะวัน ตัวตุลานนท์ หรือ ตะวันและณัฐนนท์ ไชยมหาบุตร หรือแฟรงค์ ผู้ต้องหาคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 จากเหตุการณ์บีบแตรใส่ตำรวจท้ายขบวนเสด็จของกรมพระเทพฯเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2567 โดยในการไต่สวนนัดนี้ พนักงานสอบสวน สน.ดินแดงยื่นคำร้องขอฝากขังผู้ต้องหาทั้งสองต่ออีกเป็นครั้งที่สี่ ระหว่างวันที่ 21 – 1 เมษายน 2567 หลังการไต่สวนคัดค้านการฝากขัง ศาลอนุญาตให้ฝากขังทั้งสองต่อ ตามคำร้องที่พนักงานสอบสวนอ้างว่าจำเป็นต้องรอผลตรวจคลิปวิดีโอที่ติดหน้ารถยนต์ของประชาชนที่อยู่ในบริเวณที่เกิดเหตุว่ามีการแก้ไขหรือตัดต่อหรือไม่ แม้พนักงานสอบสวนจะยอมรับว่าผู้ต้องหาทั้งสองไม่สามารถจะยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐานได้ก็ตาม