ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย
อ่าน

ประเทศไทยไร้รัฐบาล 109 วัน! อันดับหนึ่งการเลือกตั้งที่รอรัฐบาลใหม่นานที่สุดของไทย

หลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 หากนับว่าเช้าวันที่ 15 พฤษภาคม 2566 คือวันแรกของการรอคอยการจัดตั้งรัฐบาล วันนี้ วันที่ 1 กันยายน 2566 จะใช้เวลาทั้งสิ้น 109 วันจึงมีหนังสือพระบรมราชโอการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. ทำให้การเลือกตั้ง 2566 คว้าตำแหน่งอันดับหนึ่งของการรอรัฐบาลใหม่ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์การเมืองไทย   ในอดีตนั้น การเลือกตั้งที่ใช้เวลานานที่สุดเพื่อให้มีรัฐบาลใหม่ คือ การเลือกตั้งครั้งที่ 26 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้น 107 วัน จึงจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีขึ้น โดยในครั้งนั้นได้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี   การเลือกตั้งปี 2566 ขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งด้านความล่าช้าของการมีรัฐบาลมากกว่า “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” ของไทย ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 31 วัน รวมทั้งยังยิ่งชี้ให้เห็นว่า การเลือกตั้งที่คนไทยใช้เวลามากที่สุดกว่าจะมีรัฐบาลใหม่นั้น ต่างเกิดภายใต้กติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งสิ้น
2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ
อ่าน

2 เงื่อนไข รัฐบาลใหม่ต้องทำเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่สภาวะปกติ

ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง  “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!
อ่าน

เลือกตั้ง’66 : ทะลุขึ้นอันดับสอง “รอรัฐบาลใหม่” 66 วัน ก็ยังตั้งไม่ได้!

ขณะที่ “ค่าเฉลี่ยวันรอรัฐบาล” อยู่ที่ 31 วันจากการเลือกตั้งของไทยทั้งหมด 27 ครั้ง ซึ่งการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ทะยานสู่อันดับสองของการเลือกตั้งที่ทำให้ประชาชนรอการมีรัฐบาลใหม่ยาวนานที่สุด
รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
ที่หนึ่งไม่ไหว! ย้อนดูเหตุการณ์พรรคอันดับหนึ่งชวดตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
อ่าน

ที่หนึ่งไม่ไหว! ย้อนดูเหตุการณ์พรรคอันดับหนึ่งชวดตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

ระบอบประชาธิปไตยจะมีวัฒนธรรมพื้นฐานว่า พรรคที่ชนะการเลือกตั้งเป็นอันดับหนึ่งจะมีสิทธิได้เป็นนายกฯ และมีโอกาสในการได้จัดตั้งรัฐบาลก่อน แต่จากการสืบค้นข้อมูลพบว่า มีการเลือกตั้งทั่วไปถึงห้าครั้งที่พรรคอันดับหนึ่งพลาดตำแหน่งนายกฯ
“Top 6 การเลือกตั้งไทย” ที่ใช้เวลาจัดตั้งรัฐบาลยาวนานที่สุด
อ่าน

“Top 6 การเลือกตั้งไทย” ที่ใช้เวลาจัดตั้งรัฐบาลยาวนานที่สุด

หลังการเลือกตั้งทั่วไป 2566 ประเทศไทยกำลังเดินหน้าเข้าสู่สภาวะไร้รัฐบาลที่มีอำนาจเต็ม ที่ผ่านมาการเลือกตั้งไทย 27 ครั้ง มีระยะเวลาที่แตกต่างกัน ต่อไปนี้คือหกอันดับการจัดตั้งรัฐบาลในระยะเปลี่ยนผ่านจากรัฐบาลเก่าสู่รัฐบาลใหม่ ที่ยาวนานที่สุดของประเทศไทย
เปิดไทม์ไลน์หลังเลือกตั้ง 2566! อีกกี่วันคนไทยถึงได้รัฐบาลใหม่
อ่าน

เปิดไทม์ไลน์หลังเลือกตั้ง 2566! อีกกี่วันคนไทยถึงได้รัฐบาลใหม่

การเลือกตั้ง 2566 ที่เพิ่งเสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เวลา 17.00 น. ไม่ได้แปลว่าคนไทยจะได้พบกับการบริหารประเทศของผู้ชนะการเลือกตั้งครั้งนี้ในทันที แต่อาจจะกินเวลาประมาณ 65 วัน
เลือกตั้ง66: ส่องเขตสูสีเลือกตั้ง 62 ใช้เพียงไม่กี่คะแนนเปลี่ยนสมการจัดตั้งรัฐบาลได้
อ่าน

เลือกตั้ง66: ส่องเขตสูสีเลือกตั้ง 62 ใช้เพียงไม่กี่คะแนนเปลี่ยนสมการจัดตั้งรัฐบาลได้

การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตในประเทศไทย ใครได้คะแนนมากที่สุดในเขตก็เข้าป้ายได้เก้าอี้ ส.ส. ไปครอง ดังนั้น คะแนนก็อาจจะกระจายไปอยู่กับผู้สมัครหลายคน ทำให้ผลสุดท้ายผู้ชนะอาจจะ “เฉือน” อันดับสองไปไม่มาก
รัฐบาลแห่งชาติ: ทางรอด ทางเลือก หรือทางตัน?
อ่าน

รัฐบาลแห่งชาติ: ทางรอด ทางเลือก หรือทางตัน?

กระแส “รัฐบาลแห่งชาติ” ถูกปลุกขึ้นมาอีกครั้ง โดย เทพไท เสนพงศ์ ว่าที่ ส.ส.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ เป็นการโยนหินถามทางหา “ความเป็นไปได้”
การเมืองสองขั้ว: ท่าทีพรรคกลาง-เล็ก หนุน คสช.
อ่าน

การเมืองสองขั้ว: ท่าทีพรรคกลาง-เล็ก หนุน คสช.

ผลเลือกตั้ง 2562 อย่างไม่เป็นทางการ ทำให้การเมืองแบ่งออกเป็นสองขั้ว คือ ขั้วแรกฝ่ายประชาธิปไตยและขั้วที่สอง คือฝ่ายสนับสนุน คสช.