9 Years NCPO
อ่าน

9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา

ชวนย้อนดูเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิดในเดือนพฤษภาคมตลอดเก้าปีที่ผ่านมาว่ามีอะไรบ้าง 
52746702494_54ca11a8de_o
อ่าน

เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม

ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินพล.อ.ประยุทธ์ออกข้อกำหนดรวม 47 ฉบับ ฉากหน้าของข้อกำหนดเหล่านี้ระบุว่า เป็นไปเพื่อใช้ในการปราบปรามโรคระบาดอย่างโควิด-19 หากหลายฉบับมีวาระซ่อนเร้นเพื่อใช้ในทางปราบปรามเสรีภาพในการชุมนุม นำไปสู่การฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพื่อเพิกถอนข้อกำหนดปิดปาก
52746466096_75689404f8_k
อ่าน

ศาลแพ่งยกฟ้อง คดีรุ้งฟ้องให้ประยุทธ์เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุม

14 มีนาคม 2566 ศาลแพ่งนัดฟังคำพิพากษาคดีที่ รุ้ง ปนัสยา และนักกิจกรรมอีกสามคนได้แก่ เบนจา อะปัญ กุลจิรา ทองคง หรือเอ้ The Voice และ เสกสิทธิ แย้มสงวนศักดิ์ ร่วมกันเป็นโจทก์ที่หนึ่งถึงที่สี่ตามลำดับ ฟ้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นจำเลยที่หนึ่ง และ พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคง เป็นจำเลยที่สอง โดยในวันนี้นักกิจกรรมที่เป็นโจทก์ไม่ได้เดินทางมาฟังคำสั่งศาล มีเพียงทนายความและผู้รับมอบอำนาจที่เดินทางมาฟังคำสั่งแทน 
52740187016_20befa53f8_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ
Dismissal of IO case
อ่าน

ศาลแพ่งยกฟ้องคดีนักสิทธิเรียกค่าเสียหายสำนักนายกฯกรณีถูก IO โจมตี

ศาลแพ่งยกฟ้องคดีนักสิทธิฟ้องสำนักนายกฯเรียกค่าเสียหายกรณีถูกโจมตีด้วยปฏิบัติการจิตวิทยา ศาลระบุโจทก์พิสูจน์ไม่ได้ว่าเว็บไซต์ทที่ทำไอโอเชื่อมโยงกับหน่วยงานรัฐที่ถูกฟ้องอย่างไร
KAN_7778
อ่าน

ติ๊ก วิทยา กับการเดินทางไกลค้านเอเปคสู่การตามหาผู้กระทำความรุนแรงใน #ม็อบ18พฤศจิกา65

ติ๊ก-วิทยา ไชยคำหล้า จากคณะก่อการล้านนาใหม่เป็นหนึ่งใน 25 ผู้ต้องหาที่ถูกจับกุมระหว่างการชุมนุมคัดค้านการประชุมเอเปคเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 เพื่อเรียกร้องและตั้งคำถามถึงความชอบธรรมของผู้นำประชุมเอเปคอย่างพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
IMG_1819
อ่าน

ข้อเท็จจริงเหตุการณ์การสลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565

การใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุมในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 บริเวณถนนดินสอ เป็นการใช้อำนาจนอกกฎหมายที่ชัดเจน และเป็นอีกครั้งที่ตอกย้ำว่า รัฐไทยไม่เคยเคารพ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ และพร้อมละเมิดทุกกฎกติกาในยามที่ตัดสินใจแล้วว่าจะปฏิบัติการใช้กำลัง
52531443264_08ccfcabd8_b
อ่าน

เปิดความในใจ “พายุ” เลือดไหลจากตาเหมือนอาบน้ำ

หลังจากพักรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลสิบวัน พายุ บุญโสภณ หรือ พายุ ดาวดิน จากเครือข่ายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน ผู้บาดเจ็บถูกยิงด้วยกระสุนยางเข้าที่ตาขวาระหว่างการสลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565
14NOV
อ่าน

รวมข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากการชุมนุม ในปี 2564

  เปิดข้อมูลผู้บาดเจ็บจากเหตุปะทะในการชุมนุมตลอดปี 2564 พบผู้บาดเจ็บ 528 คน เป็นตำรวจ 146 นาย ผู้ชุมนุมเสียชีวิต 1 คน ตาบอด 2 คน เป็นนักข่าวบาดเจ็บ 29 คน ส่วนใหญ่จากเหตุปะทะดินแดง และโดนกระสุนยางยิงแบบขัดหลักสากล      จากการรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บจากการสังเกตการณ์ของเว็บไซต์ Mobdatathailand.org และโครงการ Child in Mob, ข
51596612130_742e2c1d21_o
อ่าน

เสรีภาพสื่อไทยในสนามการชุมนุมปี 2564

การชุมนุมทางการเมืองที่ผ่านมาสื่อมวลชนมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ย้อนกลับไปในปี 2563 สื่อมวลชนทำหน้าที่เผยแพร่เนื้อหาข้อเรียกร้องทางการเมือง ซึ่งก่อนหน้านี้อาจเคยเป็นสิ่งที่อาจสื่อสารได้ไม่ง่ายนักอย่างเช่น การปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ แม้ว่า ข้อมูลที่นำเสนอจะถูกคัดกรองและขัดเกลาแล้ว แต่ก็ยังคงแก่นสำคัญอันนำไปสู่การทำความเข้าใจข้อเรียกร้องแห่งยุคสมัย ต่อมาในปี 2564 สื่อมวลชนทวีบทบาทสำคัญอย่างมากเนื่องด้วยสถานการณ์ความรุนแรงและการใช้กำลังอย่างหนักมือของฝ่ายรัฐตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคม 2564 เป็นต้นมา รวมทั้งรูปแบบการเคลื่อนไหวของ