อ่าน

นัดสืบพยานครั้งสุดท้าย คดี ม.112 “ไผ่-ใหญ่” ปราศรัยหน้า สภ.ภูเขียว วิจารณ์กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันฯ

2 พฤษภาคม 2567 เวลา 9.00 น. จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา หรือไผ่, อรรถพล บัวพัฒน์ หรือ ใหญ่ เดินทางไปยังศาลจังหวัดภูเขียว จ.ชัยภูมิ เพื่อเข้าร่วมการนัดสืบพยาน หลังอัยการมีคำสั่งฟ้อง ‘ไผ่’ จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา, ‘ครูใหญ่’ อรรถพล บัวพัฒน์ และ ‘ไมค์’ ภาณุพงศ์ จาดนอก ในฐานความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ มาตรา 112
อ่าน

Lèse majesté case situation under “ the 4 years of NCPO”: The most tense and the unbelievably relief

  Throughout the period under the rule of the NCPO, the enforcement and prosecution toward individuals by “ lèse majesté law ” according to Article 112 of the Criminal Code, is one of the most interesting public issue. Even if this phenomenon has continuously happened since year 2007, there is a sharp increase of enforcing this law after the 2014 coup with hided certain meanings.

คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ

ตลอดระยะเวลาที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) อยู่ในอำนาจ การบังคับใช้และดำเนินคดีบุคคลด้วยข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นหนึ่งในประเด็นสาธารณชนสนใจ แม้ว่า ปรากฎการณ์เช่นนี้ที่จริงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปี 2550 แล้ว แต่หลังการยึดอำนาจของ คสช.
Sawatree Suksri
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ขอให้ศาลยุติธรรมผดุงไว้ซึ่งหลักกฎหมายและความยุติธรรม

ไอลอว์ ส่งจดหมายเปิดผนึกถึงอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา ระบุปัจจุบันรัฐอ้างกฎหมายปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ศาลจึงเป็นสถาบันแห่งเดียวที่จะทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร จึงขอให้ศาลดำเนินกระบวนการให้ถูกต้องตามหลักกฎหมายในคดีของ ไผ่ดาวดิน

สิงหาคม 2559: ผู้ต้องขัง 112 ฉลองอิสรภาพ

ในเดือนสิงหาคม 2559 ปรากฏอีกหนึ่งหมุดหมายที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย โดยเฉพาะประวัติศาสตร์การเมืองและประชาธิปไตย เมื่อร่างรัฐธรรมนูญที่ร่างขึ้นภายใต้รัฐบาลที่มาจากการรัฐประหารครั้งที่ 13 ผ่านการลงประชามติด้วยคะแนนเสียงเห็นชอบร้อยละ 61.35 จากจำนวนผู้มาใช้สิทธิกว่า 29 ล้านคน ซึ่งเป็นผลการนับคะแนนที่ไม่น่าแปลกใจนัก หากพิจารณาเทียบกับการจำกัดเสรีภาพอย่างกว้างขวางที่รัฐบาลดำเนินมาตรการกับประชาชนที่ออกมารณรงค์ไม่รับหรือวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้