Welfare in Constitution
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
Where is Pension?
อ่าน

“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?

ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี 
อ่าน

ร่วมผลักดันหลักประกันชราภาพ : บำนาญพื้นฐานสำหรับทุกคน

  เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยมีประชากรที่อายุมากกว่า 60 ปี เกินกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าอีกราว 20 ปีข้างหน้า จะมีผู้สูงอายุถึง 1 ใน 4ของประชากรทั้งหมด ขณะเดียวกัน ไม่ใช่เพียงจำนวนที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ผู้สูงอายุ ยังต้องเผชิญกับภาวะขาดความมั่นคงทางชีวิตอีกหลายประการ เช่น เป็นหม้าย การศึกษาต่ำ ความยากจน ถูกทอดทิ้ง ความรู้สึกว่าไม่มีค่า เป็นต้น