seminar
อ่าน

เปิดข้อเสนอหยุดวงจรรัฐประหาร เขียนกลไกห้ามล้มล้างระบอบประชาธิปไตยในรัฐธรรมนูญ ออกกฎหมายยกเลิกประกาศคำสั่งคณะรัฐประหาร

9 ตุลาคม 2566 ศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  จัดการสัมมนาวิชาการในหัวข้อ การทำให้รัฐประหารหมดไป ด้วยมาตรการทางกฎหมาย โดยมีผศ.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล นำเสนอบทความวิเคราะห์ลักษณะของการรัฐประหาร และนำเสนอข้อเสนอเพื่อหยุดวงจรการรัฐประหาร
9 Years NCPO
อ่าน

9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา

ชวนย้อนดูเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิดในเดือนพฤษภาคมตลอดเก้าปีที่ผ่านมาว่ามีอะไรบ้าง 
Military Party
อ่าน

จุดจบพรรคทหารในการเมืองไทย

บทเรียนทางประวัติศาสตร์ พบว่าคณะรัฐประหารไทยพยายามสร้างพรรคทหารขึ้นเพื่อสืบทอดอำนาจผ่านการเลือกตั้งเรื่อยมาหลายยุคสมัยแล้ว ซึ่งพรรคทหารแต่ละยุคก็มีรูปแบบและให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน
51091127365_9aaace2043_o
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
photo_2019-11-02_18-56-31
อ่าน

ห้าปีห้าผู้คน เรื่องราวประสบการณ์ภายใต้การปกครองของคสช.

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนเปิดนิทรรศการ Never again หยุด ย่ำ ซ้ำ เดิน โดยมีการพูดคุยเรื่อง ห้าปีห้าผู้คน เรื่องราวประสบการณ์ภายใต้การปกครองของคสช.
6be688ae63b5df352fd0b55e8e6e332c (Edited)
อ่าน

5 ปีหลังรัฐประหารผ่านไป ชะตากรรมผู้ลี้ภัยยังห่างไกลจากคำว่าปลอดภัยอยู่มาก

‘ผู้ลี้ภัย’ ไปต่างประเทศส่วนใหญ่เป็นประเทศเพื่อนบ้าน บางคนดำเนินการจนได้รับสถานะผู้ลี้ภัย แต่บางคนยังคงติดค้างอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน
Thesis_10-01
อ่าน

เปิด 10 งานวิชาการ บอกเล่าเรื่องราวยุค คสช.

วิทยานิพนธ์ งานวิจัยอิสระ และบทความ เหล่านี้จะทำหน้าที่ยืนยันและแอบอิงไปกับสิ่งที่ คสช. ทำไว้ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมาได้
อ่าน

Lèse majesté case situation under “ the 4 years of NCPO”: The most tense and the unbelievably relief

  Throughout the period under the rule of the NCPO, the enforcement and prosecution toward individuals by “ lèse majesté law ” according to Article 112 of the Criminal Code, is one of the most interesting public issue. Even if this phenomenon has continuously happened since year 2007, there is a sharp increase of enforcing this law after the 2014 coup with hided certain meanings.
อ่าน

ตรวจแถวพรรคการเมือง ใครเป็นพรรค ‘กองหนุน’ พล.อ.ประยุทธ์

หลังการเลือกตั้งใกล้เช้ามา สิ่งที่ทุกคนเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดคือ ใครจะเป็นผู้ท้าขิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ มีพรรคการเมืองอย่างน้อย 9 พรรค ที่เปิดตัวแสดงจุดยืนเป็นกองหนุนให้กับ พลเอกประยุทธ์เป็นนายกรัฐมนตรีต่อไป โดยที่มาของผู้ร่วมก่อตั้งพรรคการเมืองกลุ่มนี้ล้วนประกอบไปด้วยบรรดาอดีตนักการเมือง กลุ่มกปปส. และกลุ่มข้าราชการ เป็นหลัก

คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ

ตลอดระยะเวลาที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) อยู่ในอำนาจ การบังคับใช้และดำเนินคดีบุคคลด้วยข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นหนึ่งในประเด็นสาธารณชนสนใจ แม้ว่า ปรากฎการณ์เช่นนี้ที่จริงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปี 2550 แล้ว แต่หลังการยึดอำนาจของ คสช.