Emergency Decree revocation
อ่าน

ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ห้าในหกครั้ง ยกเลิกทันทีเมื่อเหตุจำเป็นสิ้นสุดแล้ว

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยุคโควิด 19 ถูกประกาศใช้ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคมและจะมีผลบังคับใช้ไปจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม ในขณะที่ยังไม่มีความชัดเจนว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกเมื่อใด การย้อนไปดูการประกาศใช้กฎหมายนี้ในครั้งก่อนๆ ว่าการยกเลิกเกิดขึ้นช้าหรือเร็วและด้วยเงื่อนไขใดจึงน่าจะมีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันอยู่ไม่น้อย 
Emergency Power
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย
อ่าน

ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายด้านความมั่นคงที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตย

ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่ให้อำนาจกับเจ้าหน้าที่รัฐมากเป็นพิเศษอยู่ 3 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551
Somchai Preecha
อ่าน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล: กฎหมายความมั่นคงฯ ชุดกม.การก่อการร้ายของรัฐ

อาจเรียกกฎหมายชุดนี้ว่ากฎหมายชุดความมั่นคง แต่ผมจะเสนอว่า นี่คือชุดกฎหมายการก่อการร้ายของรัฐ บนพื้นฐานความกลัวหรือเหตุความกลัวก็ได้
อ่าน

เก็บอาวุธทหาร: ยกเลิกกฎหมายความมั่นคง

ในช่วงที่มีการชุมนุมต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ จะมีชื่อของกฎหมายสองฉบับที่ผู้ชุมนุมไม่ค่อยอยากได้ยิน คือ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พรก.ฉุกเฉิน)และ พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (พรบ.