2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse majesté cases: One step forward, three steps backward
อ่าน

2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse majesté cases: One step forward, three steps backward

In early 2014, the situation of cases concerning Article 112 of the Criminal Code, or lèse majesté cases, was relatively less tense in comparison to the post-coup period. A number of verdicts made prior to the coup were in favor of the accused.
สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ

ปี 2557 ประเทศไทยเปิดศักราชด้วยบรรยากาศทางการเมืองที่ร้อนแรง โดยเฉพาะการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ทางการเมือง นำไปสู่การควบคุมสื่อของทั้งฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชน สำหรับฝ่ายรัฐ กสทช.
สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก
อ่าน

สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก

กฎหมายหมิ่นประมาทและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ยังเป็นอาวุธที่ทั้งภาครัฐและเอกชนใช้เพื่อปิดกั้นหรือตอบโต้กับเรื่องราวที่ไม่อยากได้ยิน ในปีนี้มีกรณีที่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน หรือให้ความเห็นทางวิชาการ วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นที่เป็นประโยชน์สาธารณะเป็นเหตุให้ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาทหลายกรณี
สรุปสถานการณ์ปี 2557 3/5: เสรีภาพการชุมนุม/การแสดงออกสาธารณะ และการตั้งข้อหาทางการเมือง
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 3/5: เสรีภาพการชุมนุม/การแสดงออกสาธารณะ และการตั้งข้อหาทางการเมือง

ภายใต้การประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศต่อเนื่องกว่าหกเดือน คสช. ออกประกาศฉบับที่ 7/2557 เรื่องการห้ามชุมนุมทางการเมืองเกินห้าคน ซึ่งมีคนถูกตั้งข้อหาและดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนประกาศฉบับนี้อย่างน้อย 24 คน และยังมีการนำข้อหา “ปลุกปั่นยั่วยุ”
สรุปสถานการณ์ปี 2557 2/5: คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ เดินหน้าหนึ่งก้าวก่อนถอยหลังสามก้าว
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 2/5: คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ เดินหน้าหนึ่งก้าวก่อนถอยหลังสามก้าว

ช่วงต้นปี 2557 สถานการณ์คดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ผ่อนคลายความตึงเครียดลงบ้าง เพราะคำพิพากษาของศาลหลายฉบับในช่วงต้นปีเป็นคุณกับจำเลย คำนึงถึงสิทธิของจำเลยและสังคมมากกว่าการมุ่งลงโทษให้หนัก โดยเฉพาะคดีที่จำเลยมีปัญหาด้านสุขภาพ
สรุปสถานการณ์ปี 2557 1/5 : การเรียกบุคคลไปรายงานตัว การจับกุมและการควบคุมตัวตามกฎอัยการศึก
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 1/5 : การเรียกบุคคลไปรายงานตัว การจับกุมและการควบคุมตัวตามกฎอัยการศึก

หลังการยึดอำนาจของคสช. มีผู้ถูกเรียกไปรายงานตัวอย่างน้อย 666 คน มีผู้ที่ถูกจับกุมอย่างน้อย 362 คน จำนวนผู้ที่ถูกเรียกและถูกจับรวมกันอย่างน้อย 976 คน
มิถุนายน 2558 1 ปี 1 เดือน รัฐประหาร: กลุ่มประชาธิปไตยใหม่ “อารยะขัดขืน” เข้าคุก 14 คน ขณะที่ทหารเข้มขึ้นหลายพื้นที่
อ่าน

มิถุนายน 2558 1 ปี 1 เดือน รัฐประหาร: กลุ่มประชาธิปไตยใหม่ “อารยะขัดขืน” เข้าคุก 14 คน ขณะที่ทหารเข้มขึ้นหลายพื้นที่

ดือนมิถุนายน มีความเคลื่อนไหวคดีชุมนุมอย่างน้อย 3 คดี ซึ่งเกิดจากการใช้อำนาจตามประกาศ คสช. ฉบับที่ 7/2557 ห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎอัยการศึกฯ และมีคดีเกิดขึ้นใหม่อย่างน้อย 4 คดี
ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนตุลาคม 2557
อ่าน

ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนตุลาคม 2557

โอภาส ผู้ถูกกล่าวหาว่าเขียนข้อความที่เข้าข่ายเป็นการหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯบนฝาผนังห้องน้ำ ห้างสรรพสินค้าซีคอนแสควร์ มีการจัดแถลงข่าวการจับกุมในวันที่ 17 ก่อนที่โอภาสจะถูกนำไปฝากขังต่อศาลทหารกรุงเทพในวันที่ 20
แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557
อ่าน

แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557

หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ชุนชนหลายแห่งถูกละเมิดสิทธิจากเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การที่เจ้าหน้าที่รัฐบุกไล่รื้อชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การที่เจ้าหน้าที่รัฐเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้นายทุน ซึ่งมีชุมชนอย่างน้อย  22 แห่ง ที่ได้รับผลกระทบ
iLaw ขอสรุปผลงาน สนช. ปี 2557
อ่าน

iLaw ขอสรุปผลงาน สนช. ปี 2557

ผลงานในปี 2557 ของ สนช. มีการพิจารณาร่างกฎหมายถึง 97 ฉบับ มีการลงมติผ่านกฎหมายแล้ว 47 ฉบับ โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมเฉลี่ย 176 คนต่อครั้ง จากจำนวนสมาชิกทั้งหมด 220 คน สนช.เห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศ 5 ฉบับ พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง 3 คน และพิจารณาเรื่องถอดถอนบุคคลออกจาตำแหน่ง 4 เรื่อง ขณะที่นอกสภาภาคประชาชนก็พยายามส่งเสียงเรียกร้องต่างๆ