52506662483_06aa0e5e3f_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี ป้ายผ้า “งบสถาบันกษัตริย์ > วัคซีน COVID 19”

(1) ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง (2) ในคดีนี้ เจ้าหน้าที่ใช้วิธี “เข้าตรวจค้น” ก่อนที่หมายเรียกคดีจะเดินทางมาถึงตามกระบวนการ โดยในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพดั
people against coup
อ่าน

ปัญหาชาวบ้านกับการต่อต้านรัฐประหาร

อะไรเป็นเหตุปัจจัยให้ขบวนประชาชนทำการสนับสนุนรัฐประหาร ? ทำไมขบวนประชาชนถึงไม่ต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการประชาธิปไตย  หรือต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตย  ขับไล่รัฐประหาร  แต่กลับต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ไปกับขบวนการชาตินิยม  นิยมอำนาจทหารและอนุรักษ์นิยมเพื่อขับไล่ประชาธิปไตยแทน ?
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน
2
อ่าน

ผู้ถูกดำเนินคดี 112 ในรูปแบบ “ใหม่ซ้ำเดิม” หลังรัฐประหาร

หลังรัฐประหาร 2557 คสช. ประกาศใช้กฎหมายและออกกฎระเบียบหลายฉบับที่มีเนื้อหา กระทบสิทธิเสรีภาพของประชาชน รวมถึงประกาศฉบับที่ 37/2557  ที่ให้ผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับความมั่นคงต้องขึ้นศาลทหาร ความผิดประเภทหนึ่งงที่ต้องขึ้นศาลทหาร คือ ความผิดหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ หรือที่เรียกกันว่า มาตรา112 ที่เจ้าหน้าที่จับกุมบุคคลตามข้อหานี้มากขึ้น พร้อมแนวโน้มของศาลที่กำหนดบทลงโทษรุนแรงยิ่งกว่าเดิม ช่วงสองปีของรัฐบาล คสช.
Junta Control Cyber
อ่าน

นักวิชาการชี้ รัฐบาลทหารพยายามรวบอำนาจควบคุมโลกไซเบอร์

ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ระบุ การรัฐประหารไม่ได้ง่ายดายอีกต่อไป เพราะมาเจอกับโลกไซเบอร์ ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทำไมการรัฐประหารครั้งนี้ทหารถึงต้องเข้ามาแทรกแซงโลกไซเบอร์จำนวนมาก เพราะเป็นพื้นที่ใหม่ที่ควบคุมไม่ค่อยได้ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นยังพอควบคุมได้ด้วยการเชิญไปพูดคุย 
อ่าน

แผ่นดินอุดมสมบูรณ์: สำรวจชุมชนที่รับผลกระทบจากรัฐ หลังรัฐประหาร 2557

หลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ชุนชนหลายแห่งถูกละเมิดสิทธิจากเจ้าหน้าที่รัฐ เช่น การที่เจ้าหน้าที่รัฐบุกไล่รื้อชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล หรือ การที่เจ้าหน้าที่รัฐเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้นายทุน ซึ่งมีชุมชนอย่างน้อย  22 แห่ง ที่ได้รับผลกระทบ
NLA Summary
อ่าน

iLaw ขอสรุปผลงาน สนช. ปี 2557

ผลงานในปี 2557 ของ สนช. มีการพิจารณาร่างกฎหมายถึง 97 ฉบับ มีการลงมติผ่านกฎหมายแล้ว 47 ฉบับ โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมเฉลี่ย 176 คนต่อครั้ง จากจำนวนสมาชิกทั้งหมด 220 คน สนช.เห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศ 5 ฉบับ พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง 3 คน และพิจารณาเรื่องถอดถอนบุคคลออกจาตำแหน่ง 4 เรื่อง ขณะที่นอกสภาภาคประชาชนก็พยายามส่งเสียงเรียกร้องต่างๆ 
อ่าน

รู้จัก สนช.และการเดินทางของกฎหมายใน สนช.

เป็นที่รู้กันว่า สนช.มีหน้าที่ออกกฏหมาย แต่รู้กันหรือไม่ ใครสามารถเสนอร่างกฏหมายได้บ้าง เขาออกกฏหมายกันอย่างไร นอกจากนี้คนพวกนี้เขาคือใครมาจากไหนกันบ้าง?  
kinmc
อ่าน

สรุปคดี “กิจกรรมกินแมคต้านรัฐประหาร” ที่เชียงราย ขึ้นศาลทหาร 8 คน 3 คดี จำคุก 3 เดือน รอลงอาญา

จากกิจกรรม "กินแมคต้านรัฐประหาร" ที่แมคโดนัลด์ สาขาเซ็นทรัลเชียงราย เมื่อ 25 พฤษภาคม 2557 ผู้ร่วมกิจกรรมจำนวนหนึ่งถูกตำรวจและทหารควบคุมตัวไปที่ค่ายเม็งรายมหาราช เป็นเวลา 7 วัน พร้อมตั้งข้อหาฝ่าฝืนประกาศ คสช. มั่วสุมหรือชุมนุมทางการเมืองจำนวนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป