52520212464_4d83d33c43_b
อ่าน

เปรียบเทียบร่างนิรโทษกรรมจาก 14 ตุลาสู่การชุมนุมเยาวชน’63

ชวนดูเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ที่เสนอในปี 2566 ซึ่งมุ่งหมายจะให้ครอบคลุมการดำเนินคดีความทางการเมืองต่อประชาชนที่ยืดเยื้อยาวมาตั้งแต่ปี 2549 กับกฎหมายนิรโทษกรรมผู้ชุมนุมทางการเมืองสามฉบับในอดีต
52629866447_81d6f61bee_o
อ่าน

ฝ่ายค้านเสนอญัตติด่วน #ตะวันแบม เห็นพ้องเร่งคืนสิทธิประกันตัวและใช้สภาหาทางออก

ฝ่ายค้านเสนอญัตติด่วนด้วยวาจาเพื่อขอให้รัฐสภาพิจารณาสิทธิในการประกันตัวและรวมถึงเรื่องการใช้กฎหมายล้นเกินในกระบวนการยุติธรรมที่ส่งผลกระทบต่อผู้แสดงความคิดเห็น หรือแสดงออกในทางการเมืองเพื่อให้สภาแห่งนี้ได้ร่วมกันพิจารณาหาทางออก
chayaphar
อ่าน

ทำความเข้าใจ “โทษ 7 ปี 30 เดือน” ของชญาภา

เปิดรายละเอียดคดีชญาภา  “ศาลทหารพาตัวไปพิพากษาโดยไม่มีทนายความ”  ให้ลงโทษตามมาตรา 112 จาก 2 โพสต์ ตามมาตรา 116 จาก 3 โพสต์ รวมจำคุก 19 ปี ลดเหลือ 7 ปี 30 เดือน สำหรับรายละเอียดของคดีนี้ ดูได้ที่ http://freedom.ilaw.or.th/case/689 ในช่วงที่มีข่าวลือแพร่สะพัดว่าอาจมีรัฐประหารซ้อนเพื่อโค่นล้มรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ชญาภา อายุ 48 ปี อาชีพเป็นพนักงานบัญชีของบริษัทเอกชน ถูกจับกุมและจัดให้มีการแถลงข่าวการจับกุมเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน
อ่าน

คดีพี่ฟ้องน้อง อุทาหรณ์การรักษาความมั่นคงแบบไทย

นายยุทธภูมิ ถูกพี่ชายแท้ๆ ของตัวเองกล่าวหาว่าพูดจาสบถในบ้าน และเขียนข้อความลงบนซีดี ผิดมาตรา112 ฐานดูหมิ่นกษัตริย์ฯ พี่ชายแจ้งจับน้องจนติดคุกและต้องต่อสู้คดีในชั้นศาล ไม่ว่าเรื่องราวบทนี้จะลงเอยอย่างไรก็ล้วนเป็นอุทาหรณ์หลายประการให้แก่สังคมไทย
อ่าน

เมื่อเสรีภาพ มาเคาะประตูบ้านศาลรัฐธรรมนูญ

อีกวิธีที่ประชาชนอาจใช้เพื่อเปลี่ยนแปลงกฎหมาย คือการส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่ากฎหมายใดละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ และนาทีนี้กฎหมายควบคุมเสรีภาพการแสดงออก 3 ฉบับยังรอคำชี้ขาดของศาลรัฐธรรมนูญอยู่
อ่าน

เกาะสถานการณ์ มาตรา112 เสรีภาพบนเส้นด้าย

การเมืองวันนี้ทำให้กฎหมายอาญามาตรา112 หรือ "กฎหมายหมิ่น" ตกเป็นเป้าถูกโจมตีอย่างหนัก งานชิ้นนี้รวมกระแสความเคลื่อนไหวในสังคม ว่ามีใคร กลุ่มใด ทำอะไรอยู่บ้าง
อ่าน

ต่างจุดยืน ต่างความเห็น : กฎหมายอาญามาตรา 112 ละเมิดสิทธิเสรีภาพหรือเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม

เมื่อข้อกล่าวหา “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” หรือ หมิ่นเบื้องสูง กลายเป็นข้อกล่าวหายอดนิยมระหว่างนักการเมือง และบุคคลต่างๆ ในสังคม ต่างฝ่ายต่างแย่งชิงความจงรักภักดี ขณะที่ผู้บริสุทธิ์จำนวนมาต้องโทษทัณฑ์และตกเป็นจำเลยของสังคม