51231737650_1c7b60701e_c
อ่าน

ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น

องค์กรสิทธิมนุษยชนอย่างแอมแนสตี้ ประเทศไทย ส่งหนังสือถึงสำนักประธานฎีกาขอให้ศาลมีมาตรการคุ้มครองผู้ต้องขังและนักโทษเพื่อลดความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด19 ทั้งในและนอกเรือนจำ รวมถึงขอให้ดำเนินการลดการคุมขังที่ไม่จำเป็นทุกขั้นตอน    
_DSC3319
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย
AI Seminar
อ่าน

แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ

แอมเนสตี้ฯ เปิดรายงานสถานการณ์สิทธิฯ เอเชีย-แปซิฟิก ชี้ไทยยังไม่ได้มาตรฐานสากล สิรวิชญ์หรือจ่านิวเล่าประสบการณ์ ถูกเอากฎหมายปกติมาใช้แบบไม่ปกติ คดีเยอะทำให้ใช้ชีวิตปกติไม่ได้ ผศ.ดร.จันทจิราแจงสามประเด็นปัญหาการตีความพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
Amnesty Report
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค
Statement on Torture
อ่าน

แถลงการณ์ร่วม ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย

แอมเนสตี้แถลงร่วม ICJ ผิดหวังต่อข่าวที่ระบุว่า "ร่าง พ.ร.บ.ทรมานและอุ้มหาย" ต้องล่าช้าออกไปอีก พร้อมเรียกร้องทางการไทยให้เร่งออกกฎหมายนี้โดยเร็ว
Amnesty Int. on CCA Bill
อ่าน

เนื้อหาเดิม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) กลับมาแล้ว ซ้ำซ้อนกฎหมายหมิ่นประมาทแต่โทษหนักกว่า

แอมเนสตี้พบเนื้อหาเดิมที่มีปัญหาของมาตรา 14(1) ในร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กลับมาแล้ว หลังถูกแก้ไขให้ดีขึ้นในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมชวนประชาชนจับตาเส้นตายผ่าน พ.ร.บ. สิ้นเดือนพฤศจิกายนนี้
อ่าน

แอมเนสตี้ : 5 ความเชื่อ 5 ความจริงเกี่ยวกับโทษประหารชีวิต

แอมเนสตี้เปิดสถิติโทษประหารชีวิตทั่วโลกในปี 2556 ชี้การประหารชีวิตส่วนใหญ่เกิดขึ้นในประเทศ จีน อิหร่าน อิรัก ซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐฯ พร้อมระบุ 5 ความเชื่อ และ 5 ความจริง ที่เข้าใจผิดกันเกี่ยวกับโทษประหารชีวิต
Amnesty International logo
อ่าน

แอมเนสตี้เปิดข้อมูลโทษประหารปี55 ชี้ไทยเป็นประเทศส่วนน้อยที่ใช้โทษประหารชีวิต

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เปิดเผยรายงานสถานการณ์โทษประหารชีวิตและการประหารชีวิตในปี 2555 พบไทยเป็นหนึ่งใน 58 ประเทศทั่วโลกที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต ขณะที่แนวโน้มทั่วโลกมุ่งสู่การยกเลิก