detUlkWMon94538
อ่าน

ทางสองแพร่งในมือศาล: “มาตรา 61 วรรค 2” ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ จะอยู่หรือจะไป

29 มิ.ย. 2559 คือวันที่ศาลนัดชี้ชะตา มาตรา 61 วรรค 2 ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ ว่าจะอยู่หรือจะไป ทั้งนี้ หากพิจารณาจากทิศทางคำวินิจฉัยที่ผ่านมา การจะดูว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับกฎหมายนั้นเป็นไปตามเงื่อนในการจำกัดสิทธิเสรีภาพหรือไม่ และเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพ “เท่าที่จำเป็นและใช้บังคับเป็นการทั่วไป” หรือเปล่า
อ่าน

มองปรากฏการณ์ ‘ถล่ม’ เว็บรัฐบาล: จากปีนรั้วสภาถึง virtual sit-in

ผิดหรือไม่? ถูกหรือไม่? ที่พลเมืองเน็ตแห่กันเข้าเว็บไซต์ของรัฐจนเล่มนั้น จะเข้าข่ายปฏิบัติการที่เรียกว่า DDos attack แล้วจะผิดกฎมายตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หรือเปล่า? หาคำตอบกับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ตได้ที่นี้

2014 Situation Summary Report 5/5: Self-censorship, restricted access to online media, and the shutdown of community radio before and after the coup

At the beginning of 2014, the heated protests of the People’s Democratic Reform Committee (PDRC), which had begun in November 2013, were ongoing. The protests continued until 20 May 2014 when the Royal Thai Army claimed that the PDRC and other political protests could lead to unrest and violence and therefore declared martial law.

2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse majesté cases: One step forward, three steps backward

In early 2014, the situation of cases concerning Article 112 of the Criminal Code, or lèse majesté cases, was relatively less tense in comparison to the post-coup period. A number of verdicts made prior to the coup were in favor of the accused. The rights of the accused and society were given an importance greater than the infliction of severe sanctions.
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ

ปี 2557 ประเทศไทยเปิดศักราชด้วยบรรยากาศทางการเมืองที่ร้อนแรง โดยเฉพาะการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ทางการเมือง นำไปสู่การควบคุมสื่อของทั้งฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชน สำหรับฝ่ายรัฐ กสทช.

สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก

ปี 2557 กฎหมายหมิ่นประมาทและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ยังเป็นอาวุธที่ทั้งภาครัฐและเอกชนใช้เพื่อปิดกั้นหรือตอบโต้กับเรื่องราวที่ไม่อยากได้ยิน ในปีนี้มีกรณีที่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน หรือให้ความเห็นทางวิชาการ วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นที่เป็นประโยชน์สาธารณะเป็นเหตุให้ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาทหลายกรณี 
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 3/5: เสรีภาพการชุมนุม/การแสดงออกสาธารณะ และการตั้งข้อหาทางการเมือง

ปี 2557 หลังการรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 สถานการณ์การใช้เสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะ การจัดกิจกรรมสาธารณะต่างๆ และการแสดงความคิดเห็นเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ภายใต้การประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศต่อเนื่องกว่าหกเดือน คสช.

สรุปสถานการณ์ปี 2557 2/5: คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ เดินหน้าหนึ่งก้าวก่อนถอยหลังสามก้าว

ช่วงต้นปี 2557 สถานการณ์คดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ผ่อนคลายความตึงเครียดลงบ้าง เพราะคำพิพากษาของศาลหลายฉบับในช่วงต้นปีเป็นคุณกับจำเลย คำนึงถึงสิทธิของจำเลยและสังคมมากกว่าการมุ่งลงโทษให้หนัก โดยเฉพาะคดีที่จำเลยมีปัญหาด้านสุขภาพ