Press Freedom Day
อ่าน

ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก

งานเสวนาวันเสรีภาพสื่อโลก ฐปนีย์ เผยเพิ่งได้รับหมายเรียกฐานหมิ่นประมาท จากการรายงานข่าวว่า ส.ส. ถูกร้องเรียนให้ตรวจสอบพฤติกรรม ศ.วิทิต ยืนยันต้องยุติคดีการเมืองก่อนแล้วค่อยแก้กฎหมาย ร้ององค์กร UN สั่งยุติคดีอาญาต่อเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีที่แสดงออกทางการเมือง
144208039_10164986449040551_187276123552947134_n
อ่าน

การชุมนุมปี 2563 พริบตาแห่งความเปลี่ยนแปลง: พลังก่อตัวจากไหน มีพัฒนาการอย่างไร เราเจออะไรมาบ้าง

779 ครั้งคือจำนวนการชุมนุมทั่วประเทศในปี 2563 ที่เราสามารถเก็บข้อมูลได้ โดยเป็นปีแรกที่เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ แม้ไม่มีข้อมูลสถิติเปรียบเทียบในปีอื่นๆ ก็เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า ปี 2563 มีการชุมนุมมากครั้งที่สุดในรอบหลายปีที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการรัฐประหารในปี 2557 ซึ่งมีการปิดกั้นการชุมนุมทุกประเภทด้วยการออกประกาศ/คำสั่งของ คสช.
DSC05985
อ่าน

เสรีภาพสื่อที่หายไปในสนามการชุมนุม

สื่ออิสระ นับว่าเป็นกลุ่มคนสำคัญในสนามการชุมนุมที่นับวันมีเหตุความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เพราะพวกเขาต่างทำหน้าที่เสมือนเป็นหูเป็นตาให้กับประชาชนในยามที่สื่อกระแสหลักไม่สามารถทำหน้าที่ได้ แต่ราคาที่ต้องจ่าย คือ ความเสี่ยงนานับประการ ไม่ว่าจะเป็นการคุกคาม การใช้ความรุนแรง ไปจนถึงการดำเนินคดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็น "เสรีภาพสื่อที่หายไป" ในสนามการชุมนุม
51352243456_3284572836_o
อ่าน

สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ภายหลังข้อกำหนด ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่กำหนดว่าห้ามเสนอข่าวที่ทำให้ประชาชนหวาดกลัว หรือบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงอนุญาตให้ กสทช.มีอำนาจ "ตัดเน็ต" หากพบว่า IP address ใดทำผิดข้อกำหนด มีผลบังคับใช้ มันได้สร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนอย่างกว้างขว้าง จนเกิดเป็นปฏิกิริยาตอบโต้จากทั้งบรรดาสื่อมวลชน นักกฎหมาย รวมถึงกลุ่มการเมือง ที่มองว่า นี่คือการคุกคามสื่อและจงใจปิดหูปิดตามประชาชน
51351057382_5b95168a08_o
อ่าน

สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน

2 สิงหาคม 2564 กลุ่มสื่อมวลชนและภาคประชาชน อย่างน้อย 12 กลุ่ม เดินทางมาศาลแพ่ง (รัชดา) เพื่อยื่นฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่ให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์ข้อความอันอาจทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว เนื่องจากเป็นการใช้อำนาจที่ขัดต่อหลักนิติธรรม และยังเป็นการดำเนินการที่ไม่สอดคล้องกับหลักการพื้นฐานในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
Movie Review_Thumbnail-The Post
อ่าน

The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
Thumbnail สิทธิแสดงออก
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
Emergency Power
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย